สรุปบทที่ 7 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านการบริหาร
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศสเพื่อการจัดการ เป็นประเภทพื้นฐานของระบบที่สนับสนุนการจัดการและยังเป็นหลักของระบบสารสนเทศอีกด้วย เป็นตัวสร้างข้อมูลที่สนับสนุนความต้องการในการตัดสินใจสำหรับงานการจัดการวันต่อวัน การสร้างรายงาน การแสดงและการตอบสนองโดยการเตรียมระบบข้อมูลสารสนเทศซึ่งผู้จัดการจะมีการกำหนดไว้ล่วงหน้า เช่น การผลิตข้อมูลที่เหมาะสะมสำหรับผู้ที่ต้องตัดสินใจในระดับของการปฏิบัติงานและยุทธวิธีขององค์กร ซึ่งเป็นผุ้ที่ต้องเผชิญหน้ากับประเภทของโครงสร้างในเหตุการณ์สำหรับการตัดสินใจอยู่เป็นประจำ
ทางเลือกสำหรับการจัดการรายงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ได้ผลิตข้อมูลที่หลากหลายสำหรับการจัดการ ทางเลือกของรายงาน 4 ประเภทที่มีการเตรียมจากโปรแกรม
- รายงานตามตารางเวลาปกติ
- รายงานการยกเว้น
- รายงานความต้องการและการตอบสนอง
- รายงานสนับสนุน
การประมวลผลการวิเคราะห์ต่อตรงหรือออนไลน์
การแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสิ่งแวดล้อมของโลกธุรกิจ คือ แรงผลักของความต้องการและการวิเคราะห์สำหรับระบบสารสนเทศที่มีความต้องการที่ซับซือน ซึ่งอุสาหกรรมระบบสารสนเทศนั้นมีการตอบสนองในความต้องการเหล่านี้ โดยการพัฒนา เช่น การวิเคราะห์ฐานข้อมูล ตลาดข้อมูลหรือข้อมูลทางการตลาด โกดังข้อมูลหรือคลังข้อมูล เทคนิคการทำเหมือนข้อมูลหรือขุมข้อมูล และโครงสร้างฐานข้อมูลทางด้านมัลติมิเดีย ที่เกี่ยวกับแม่ข่ายและซอฟต์แวร์เฉพาะที่สนับสนุนการประมวลผลการตัดสินใจและระบบสารสนเทศเพื่อผู็บริหารที่ผู้จัดการสามารถใช้งานและวิเคราะห์สื่อสารระหว่างกันและการจัดการรายละเอียด ซึ่งจะมีการตอบสนองความต้องการได้อย่างรวดเร็ว
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เกี่ยวข้องกับการติดต่อในขั้นตอนการทำงานของรูปแบบจำลองในการวิเคราะห์ เช่น การใช้ชุดซอฟต์แวร์ DSS สำหรับสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะมีผลในลำดับของการแสดงที่มีการตอบสนองจากทางเลือกวอทอีฟ ที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแผได้โดยผู้จัดการ
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐาน 4 อย่างของแบบจำลองในการวิเคราะห์ ดูบทสรุปของแบบจำลองการวิเคราะห์สำหรับการสนับสนุนในการตัดสินใจ
การวิเคราะห์แบบวอทอิฟ
ในการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ผู้ใช้สามารถจะเปลี่ยนแปลงตัวแปรปหรือจำนวนความสัมพันธ์ของตัวแปรและความชัดเจนของผลลัพธ์ที่ได้จากค่าตัวแปรอื่นๆ เช่น ถ้าคุณใช้ตารางทำการ คุณจะต้องเปลี่ยนจำนวนของรายได้ (ตัวแปร) หรือสูตรคิดอันตราภาษี (จำนวนความสัมพัธ์ของตัวแปร) ในแบบจำลองด้านการเงินในตารางทำการ หลังจากนั้นคุณอาจสั่งให้โปรแกรมทำการคำนวนใหม่อีกครั้ง เพื่อแระเมินค่าบางตัวที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการกำหนดตัวแปร เช่น กำไรสุทธิหลังหักภาษี
การวิเคราะห์แบบละเอียด
การวิเคราะห์แบบละเอียดเป็นกรณีพิเศษของการวิเคราะห์แบวอทอิฟ ค่าของตัวแปรเพียงหนั่งตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงและเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ในตัวแปรอื่นๆ ดังนั้นการวิเคราะห์แบบละเอียดจะเป็นกรณีของการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงซ้ำอีกครั้งในตัวแปรเพียงตัวเดียวในแต่ละครั้ง ชุดโปรแกรม DSS บางตัวจะมีการเปลี่ยนแปลงตัวแปรโดยอัตโนมัติ การวิเคราะห์แบบละเอียดจะใช้เมื่อผู้ตัดสินใจไม่แน่ใจเกี่ยวกับการประเมินค่าของตัวแปรหลัก
การวิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย
การวิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ และแบบรายละเอียดจะเป็นการแทนที่ของสิ่งที่เห็นได้ชัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่มีผลกับตัวแปรอื่นอย่างไร การวิเคราะห์ในการค้นหาเป้าหมายเรียกว่า สามารถวิเคราะห์ได้อย่างไร ได้กำหนดค่าของเป้าหมาย (ความสำเร็จ) สำหรับตัวแปร หลังจากนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอื่นๆจนกระทั่งค่าของเป้าหมายนั้นเข้าถึงเป้าหมาย
การวิเคราะห์แบบเหมาะสม
การวิเคราะห์แบบเหมาะสม เป็นการขยายความซับซ้อนที่มากขึ้นสำหรับการวิเคราะห์ค้นหาเป้าหมาย โดยแทนที่ค่าของเป้าหมายเฉพาะสำหรับตัวแปร เพื่อค้นหาค่าที่เหมาะสมสำหรับตัวแปรหนึ่งตัวแปรหรือมากกว่านั้น หลังจากนั้นตัวแปรอื่นจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้มีข้อจำกัดเกิดขึ้น จนกว่าจะได้ค่าที่ดีที่สุดสำหรับตัวแปรเป้าหมายที่ต้องการ เช่น ควรกำหนดค่าระดับของผลกำไรไว้ในระดับสูงที่ควรจะเป็นเป้าหมายแห่งความสำเน็จ โดยวางค่าสำหรับการเลือกแหล่งของรายได้และประเภทของค่าใช้จ่าย การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอย่างมากอาจจะทำให้มีขีดจำกัดสำหรับขั้นตอนการผลิตหรือขีดจำกัดของการเงิน ดังนั้น เงื่อนไขที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญ
ขอบเขตของปัญญาประดิษฐ์
1. ศาตร์แห่งการรับรู้
2 หุ่นยนต์
3. ลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ
คำถามกรณีศึกษา
1. ทำไมการทำงานร่วมกันในระบบอินทราเน็ตจึงกลายมาเป็น “ระบบสารสนเทศของทุกๆคน”ตอบ การทำงานร่วมกันของระบบอินทราเน็ตกลายเป็นสิ่งที่เข้ามาอย่างรวดเร็ว ซึ่งในแต่ละระดับอย่างเช่นผู้จัดการและผู้เชี่ยวชาญในทุกระดับสามารถใช้อินทราเน็ตในการเข้าถึงข้อมูลและแบ่งปันข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับปัจจัยหลักของธุรกิจและคู่แข่งขันกันได้
2. อะไรเป็นแนวคิดระบบสารสนเทศที่คุณได้จากระบบอินเทราเน็ตของบริษัทและเครื่องมือค้นหาของ Fulcrumตอบ แนวคิดก็คือการที่ระบบอินทราเน็ตเป็นระบบสารสนเทศของทุกๆคนที่เราสามารถที่จะเข้าถึงได้ง่ายและสะดากกับการใช้งาน
3. อะไรเป็นผลประโยชน์ในทางธุรกิจสำหรับระบบอินทราเน็ตและเครื่องมือค้นหาภายในบริษัท
ตอบ ช่วยเพิ่มการคืนทุนและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยการลดเวลาที่ไม่จำเป็นสำหรับการเข้าถึงและจัดการข้อมูลสารสนเทศในระบบอินทราเน็ตในบริษัท ช่วยให้พนักงานในบริษัทใช้ระบบอินทราเน็ตเป็นเครื่องมือการแข่งขันสำหรับโครงการทางวิศวกรรมใหม่ๆ
คำถามท้ายบท
1.การจัดการในการตัดสินใจนั้นต้องได้รับการสนับสนุนจากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความสำเร็จ
ภายในองค์กร อันได้แก่อะไรบ้าง
ก.การจัดการด้านกลยุทธ์ ข.การจัดการด้านยุทธ์วิธี
ค.การจัดการด้านการปฏิบัติการ ง.ถูกทุกข้อ
1.การจัดการในการตัดสินใจนั้นต้องได้รับการสนับสนุนจากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อความสำเร็จ
ภายในองค์กร อันได้แก่อะไรบ้าง
ก.การจัดการด้านกลยุทธ์ ข.การจัดการด้านยุทธ์วิธี
ค.การจัดการด้านการปฏิบัติการ ง.ถูกทุกข้อ
2.การตัดสินใจในระดับการปฏิบัติการจะมีแนวโน้มที่เป็นแบบโครงสร้างมากกว่าหรือน้อยกว่าในระดับ
ยุทธวิธีที่เป็นแบบกึ่งโครงสร้าง
ก.น้อยกว่า ข.เท่ากับ
ค.มากกว่า ง.ไม่มีข้อถูก
3.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีกี่ประเภท
ก.3 ประเภท ข.4 ประเภท
ค.5 ประเภท ง.6 ประเภท
4.การจัดการรายงานในรูปแบบของการกำหนดไว้ล่วงหน้าเป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านใด
ก.รายงานการยกเว้น ข.รายงานตามตารางเวลาปกติ
ค.รายงานความต้องการและการตอบสนอง ง.รายงานสนับสนุน
5.แบ่งปันประสบการณ์และความรู้ของพวกเขาในการปรับปรุงงานของบริษัทและโครงการทางวิศวกรรมต่างๆมีการสนทนาผ่านระบบใด
ข.ประเทศสหรัฐอเมริก
ยุทธวิธีที่เป็นแบบกึ่งโครงสร้าง
ก.น้อยกว่า ข.เท่ากับ
ค.มากกว่า ง.ไม่มีข้อถูก
3.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมีกี่ประเภท
ก.3 ประเภท ข.4 ประเภท
ค.5 ประเภท ง.6 ประเภท
4.การจัดการรายงานในรูปแบบของการกำหนดไว้ล่วงหน้าเป็นระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านใด
ก.รายงานการยกเว้น ข.รายงานตามตารางเวลาปกติ
ค.รายงานความต้องการและการตอบสนอง ง.รายงานสนับสนุน
5.แบ่งปันประสบการณ์และความรู้ของพวกเขาในการปรับปรุงงานของบริษัทและโครงการทางวิศวกรรมต่างๆมีการสนทนาผ่านระบบใด
ก.ระบบ ROI
ข.ระบบ EIS
ค.ระบบ PAN
ง.ระบบ MIS
6.ระบบงานที่ใช้ Fuzzy Logic พบได้มากในประเทศใด
ก.ประเทศบราซิลข.ประเทศสหรัฐอเมริก
ค.ประเทศญี่ปุ่น
ง.ประเทศอิตาลี
ง.ประเทศอิตาลี
7.ส่วนของการปฏิบัติการหลักของปัญญาประดิษฐ์ในการปฏบัติการหลายอย่างของปัญญาประดิษฐ์ที่จัดกลุ่มได้กี่ส่วน
ข. 4 ขั้นตอน
ค. 6 ขั้นตอน
ง. 8 ขั้นตอน
ก.6 ส่วน
ข.4 ส่วน
ค.5 ส่วน
ง.3 ส่วน
8. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ มีกี่ขั้นตอน
ก. 2 ขั้นตอนข. 4 ขั้นตอน
ค. 6 ขั้นตอน
ง. 8 ขั้นตอน
9.ระบบสารสนเทศในข้อใดที่มีการรวบรวมเอาลักษณะการทำงานของสารสนเทศเพื่อการจัดการหลายๆตัวรวมกับระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ
ก.ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหาร ข.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ค.การจัดการด้านกลยุทธวิธี ง.ไม่มีข้อถูก
10.คณะกรรมการอำนวยการ สมาชิกผู้บริหาร และผู้บริหารระดับสูงกำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ นโยบายและการวางแผนภายในองค์การ คือการจัดการด้านใด
ก.Tactiacl Management ข.Strategic Management
ค.Operation Management ง.Push Reporting
แบบฝึกหัดท้ายบท
1. อะไรคือความแตกต่างระหว่างความสามารถของผู้บริหารในการเรียกข้อมูลออกมาใช้ตามความต้องการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และความสามารถจัดการเรื่องบริหารการตัดสินใจโดยใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ตอบ ระบบการตัดสินใจเป็นประเภทหลักของระบบสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระหว่างขั้นตอนตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้คือ
1.รูปแบบจำลองในการวิเคราะห์
2.ฐานข้อมูลเฉพาะ
3.ผู้ที่ตัดสินใจหรือหรือผู้ตัดสิน
4.การติดต่อระหว่างกัน
ตอบ ระบบการตัดสินใจเป็นประเภทหลักของระบบสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐานติดต่อเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกัน เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระหว่างขั้นตอนตัดสินใจระบบสนับสนุนการตัดสินใจที่ใช้คือ
1.รูปแบบจำลองในการวิเคราะห์
2.ฐานข้อมูลเฉพาะ
3.ผู้ที่ตัดสินใจหรือหรือผู้ตัดสิน
4.การติดต่อระหว่างกัน
2. ระบบงานการขาย มีความก้าวหน้ากว่า แต่ก่อนมาก เมื่อต้องการข้อมูลสำหรับการทำงานในองค์กร เนื่องจากความต้องการเรื่องกลยุทธ์ และการบริหารการตัดสินใจในธุรกิจเปลี่ยนไป ให้นักศึกษาอธิบายเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงนี้
ตอบ แผนกลยุทธ์ คือการตัดสินใจวางแผนอย่างมีระบบ มีทิศทางมีกระบวนการทำงานที่ชัดเจน มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เพื่อให้องค์กรสามารถดำรงอยู่ได้ในอนาคต
โดยอาศัยการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของทุกฝ่าย เทคนิค คือ กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทำใดๆ เพื่อช่วยให ้ กระบวน การ ขั้นตอน วิธีการ หรือการกระทำนั้นๆ มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้น เทคนิค การสอน จึงหมายถึง กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมกระบวนการสอน ขั้นตอนการสอน วิธีการสอน หรือการดำเนิน การทางการสอนใดๆ เพื่อช่วยให้การสอนมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจ ใช้เทคนิคต่างๆ ที่สามารถช่วยให้การบรรยายมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การยกตัวอย่าง การใช ้ สื่อ การใช้คำถาม เป็นต้น
การทำให้องค์การสามารถปฏิบัติงานได้ จะต้องมีความรู้เรื่องทักษะของคน ความเข้าใจคน การสร้างความประทับใจที่ดีต่อบุคคล การใช้เวลาที่เหมาะสม การไตร่ตรองอย่างรอบคอบ เพื่อประกอบในการตัดสินใจในการบริหารงาน
3. มีแนวทางไหนบ้าง ที่นักศึกษาใช้โปรแกรมตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่นำมาช่วยในการตัดสินใจ
ตอบ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support system : DSS)ทำหน้าที่ในการอำนวยความสะดวกในการจัดรูปแบบข้อมูล การนำข้อมูลมาใช้ และการรายงานข้อมูลเพื่อที่จะใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจของผู้บริหารต่างๆ ระบบ DSS จะมีความสามารถในการใช้งานได้ดีกว่าระบบประมวลผลรายการและระบบรายงานการจัดการ เนื่องจากระบบ DSS สามารถที่จะปรับเปลี่ยนตัวแปร ที่แตกต่าง กันและทำการวิเคราะห์ใหม่ได้
4. ทำไมการใช้ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง จึงขยายไปยังระดับกลาง และขยายไปทั่วหมดทุกแผนกในองค์กร
ตอบ ผู้บริหารระดับสูงจะต้องเป็นผู้ทรงความรู้ความสามารถในทุกเรื่องที่เกี่ยวกับองค์การอย่างละเอียดและกว้างขวางจะต้องเป็นผู้รู้ความเป็นไปของธุรกิจ การดำเนินงาน รวมถึงความสามารถในการตรวจสอบประเมินผลการปฏิบัติงานต่าง ๆ ในการดำเนินธุรกิจได้เป็นอย่างดีนอกจากนี้ยังต้องมีความสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลอันเป็นผลให้ก่อประโยชน์ต่อองค์การหลีกเลี่ยงการพูดที่ทำให้เกิดความเสียหาย หรือภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อองค์การ
5. ทำไมเครื่องคอมพิวเตอร์จึงสามารถคิดได้ อธิบายเหตุผล
ตอบ คอมพิวเตอร์คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์อเนกประสงค์ที่ได้สร้างขึ้นเพื่อให้มนุษย์สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือ (tools) สำหรับเพิ่มปรสิทธิภาพในการทำงานด้านต่างๆๆ ให้ได้ตามต้องการของมนุษย์ เช่น ด้านการศึกษางานวิจัย วิทยาศาสตร์การแพทย์ ฯลฯ ระบบคอมพิวพิวเตอร์ คือ กลุ่มของเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่รวมตัวเข้าด้วยกันเพื่อร่วมกันประเมินผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ๆ (ELECTRONIC DATA PROCESSING )
หรือประมวลผลข้อมูล (INFORMATION PROCESSING) นั้นเพมื่อให้ได้ข่าวสารตรงตามที่ต้องการ โดยที่ระบบคอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูล (INCOMING DATA) ประมวลผลข้อมูล(PROCESSING) แล้วส่งผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลนั้นๆ (OUTPUT) ให้กับผู้ใช้
6. การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในองค์กร ส่วนไหนสำคัญที่สุด บอกเหตุผลที่นักศึกษาเลือก
ตอบ ลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ เพราะเป็นการพัฒนาลักษณะลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ เป็นการพิจรณาจากหลักของการปฏิบัติการทางปัญญาประดิษฐ์แป็นส่วนที่สำคัญในการใช้ธรรมชาติของมนุษย์
7. การผสมผสานระหว่างระบบผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายเส้นประสาท จะก้าวหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง นักศึกษาคาดหวังจะเกิดเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยอย่างไรบ้าง
ตอบ เป็นการนำเอาระบบต่างๆ หรือเทคนิคต่างๆ ของปัญญาประดิษฐ์ที่กล่าวข้างต้นมาบูรณาการเข้าด้วยกันเป็นระบบเดียว ส่วนใหญ่จะเป็นการบูรณาการระหว่างระบบผู้เชี่ยวชาญกับระบบเครือข่ายนิวรอนเข้าด้วยกัน เช่น โปรแกรมประยุกต์ดาต้าไมนิ่ง ด้านการตลาดและการขายของบริษัท จากการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ผู้พัฒนาปัญญาประดิษฐ์ได้สร้างผลิตภัณฑ์มีรวบรวมเอาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาเป็นระบบปัญญาประดิษฐ์ผสมผสานเพียงหนึ่งเดียว โดยประกอบด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่ได้รับความนิยม 2 ตัว คือ ระบบผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายเส้นประสาท เช่น การรวมเอาระบบ ES/NNที่อาจจะพบกับแนวโน้มหรือการค้นหาความสัมพันธ์ที่ซ้อนอยู่ (ตามที่ตาข่ายเส้นประสาททำอยู่) และหลังจากนั้นจะมีการวินิจฉัยและตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งเหล่านี้ในส่วนของปัญหาเฉพาะ (ตามที่ระบบผู้เชี่ยวชาญทำอยู่)
8. อะไรคือขอบเขตจำกัด หรืออันตรายที่นักศึกษามองเห็นในการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ระบบนี้จะพยายามลอกเลียนแบบความสามารถของ ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ในการแก้ปัญหาต่างๆ
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) ระบบนี้จะพยายามลอกเลียนแบบความสามารถของ ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์ในการแก้ปัญหาต่างๆ
ความเป็นจริงเสมือน หรือ ความจริงเสมือน (อังกฤษ: virtual realityหรือ VR) เป็นสภาพแวดล้อมที่จำลองโดยคอมพิวเตอร์ สภาพแวดล้อมในความเป็นจริงเสมือนส่วนมากจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ สิ่งที่เกี่ยวกับการมองเห็นแสดงทั้งบนจอคอมพิวเตอร์ หรือ อุปกรณ์แสดงผลสามมิติ แต่การจำลองบางอันยังรวมไปถึงข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับประสาทสัมผัสด้วย เช่น เสียงจากลำโพงหรือหูฟัง ระบบสำหรับทำการทดลองขั้นสูงยังรวมถึงการสัมผัสเช่นการตอบสนองต่อแรงป้อนกลับ โดยผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับสิ่งแวดล้อมเสมือนได้ทั้งการใช้อุปกรณ์นำเข้ามาตรฐานเช่น แป้นพิมพ์ หรือ เมาส์ หรือใช้อุปกรณ์หลายภาวะ เช่น ถุงมือโครงลวด แขนควบคุม หรือ คันบังคับหลายทิศทาง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น