วันอังคารที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2561

5.1 เครื่องมือทางการเงินและการตลาด


5.1 เครื่องมือทางการเงินและการตลาด 5.1.1.เครื่องมือทางการเงิน1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้        1.1 ประเภทตราสารหนี้การแบ่งประเภทตราสารหนี้อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้1. แบ่งตามอายุของตราสารหนี้ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่มีอายุ​สั้น กลาง และยาว​2. แบ่งตามลักษณะของการจ่ายดอกเบี้ย เช่น ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราลอยตัว ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยทบต้น หรือตราสารหนี้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ย เป็นต้น3. แบ่งตามลักษณะการออกใบตราสาร ได้แก่     3.1 ชนิดมีใบตราสาร (Scrip)  เป็นตราสารหนี้ที่มีการออกใบตราสารซึ่งระบุชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ไว้ให้ครอบครอง​     3.2 ชนิดไร้ใบตราสาร (Scripless)  เป็นตราสารหนี้ที่บันทึกกรรมสิทธิ์ไว้ในบัญชีของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์โดยไม่มีการออกใบตราสาร
4. แบ่งตามประเภทของผู้ออกตราสารหนี้ ได้แก่     4.1 ตราสารหนี้ภาคเอกชน หมายถึง ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน ซึ่งอยู่ในการควบคุมดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.)  เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือหุ้นกู้ เป็นต้น    4.2 ตราสารหนี้ภาครัฐ หมายถึง ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานภาครัฐ ออกจำหน่ายเพื่อระดมทุนในประเทศจากประชาชนและสถาบันการเงิน1.2 องค์ประกอบของตราสารหนี้ ตราสารหนี้โดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบที่สำคัญ ซึ่งพอจะจำแนกได้ดังนี้
1.   มูลค่าที่ตราไว้ (Par value) คือ มูลค่าเงินต้นที่ผู้กู้จะต้องชำระคืนให้กับผู้ถือตราสารหนี้นั้นเมื่อครบกำหนด ส่วนใหญ่เท่ากับ 1,000 บาท ทั้งนี้มูลค่าที่ตราไว้นี้อาจลดลงเมื่อมีการจ่ายคืนเงินต้นในกรณีที่เป็นตราสารหนี้ชนิดทยอยจ่ายคืน
2.   อัตราดอกเบี้ย (Coupon rate) คือ อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ออกมีภาระที่จะต้องจ่ายให้กับผู้ถือตราสารหนี้นั้น ๆ ตามวัน เดือน ปี ที่กำหนดตลอดอายุของตราสารหนี้นั้น ในกรณีที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่ (Fixed rate) เช่น 8.00% ต่อปี ผู้ออกจะต้องจ่ายที่อัตรานั้นตลอดอายุของตราสารหนี้ หรือในกรณีที่กำหนดให้เป็นอัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว (Floating rate) อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ออกต้องจ่ายให้ผู้ถือจะเปลี่ยนแปลงไปได้ตามที่กำหนด ซึ่งโดยปกติมักจะอ้างอิงไว้กับอัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชย์ เช่น เปลี่ยนแปลงไปตามอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก 1 ปีโดยเฉลี่ยของ 5 ธนาคารใหญ่ และบวกหรือลบด้วยส่วนต่าง (Margin) ที่กำหนดซึ่งจะขึ้นกับคุณภาพของตราสารหนี้นั้น ๆ
3.   งวดการจ่ายดอกเบี้ย (Coupon frequency) เป็นการระบุจำนวนครั้งของการจ่ายดอกเบี้ย ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้ง 1 ครั้ง ต่อปี 2 ครั้งต่อปี 4 ครั้งต่อปี หรือทุกๆ เดือน แล้วแต่ผู้ออกจะกำหนด แต่โดยส่วนใหญ่เป็นการจ่ายทุกครึ่งปี โดย เฉพาะพันธบัตรที่ออกโดยรัฐบาลและองค์กรภาครัฐ
4.   วันหมดอายุ (Maturity Date) เป็นการกำหนดวันหมดอายุของตราสารหนี้นั้น ซึ่งผู้ออกจะต้องทำการจ่ายคืนเงินต้นและดอกเบี้ยงวดสุดท้าย (ถ้ามี) ให้กับผู้ถือ
5.   ชื่อผู้ออก (Issue name) เป็นการระบุว่าใครเป็นผู้ออกตราสารหนี้นั้น หรือเป็นการระบุชื่อผู้กู้
6.   ประเภทของตราสารหนี้ เป็นการระบุประเภทของตราสารหนี้นั้น เช่น หุ้นกู้ไม่มีประกัน หุ้นกู้ด้อยสิทธิ/ไม่ด้อยสิทธิ หุ้นกู้แปลงสภาพ เป็นต้น7.   ข้อสัญญา (Covenants) เป็นเงื่อนไขและข้อตกลงที่ระบุให้ผู้ออกหุ้นกู้ต้องสัญญาว่าจะทำหรือไม่ทำ สิ่งหนึ่งสิ่งใดเพื่อประโยชน์ของผู้ให้กู้ โดยทั่วไปมักเกี่ยวกับการตกลงในระดับทุนหมุนเวียน อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นหรือภาระดอกเบี้ยที่ต้องชำระ การห้ามจ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นสามัญเกินอัตราที่กำหนด การต้องดำรงสัดส่วนของหนี้สินต่อทุนไม่เกินอัตราที่กำหนด ข้อสัญญาอาจรวมถึงการจำกัดด้านการบริหารของผู้ออก เช่น การห้ามรวมกิจการเป็นต้น อัตราผลตอบแทนของการลงทุนในตราสารหนี้มาจากไหนโดยปกติแล้วผลตอบแทนของตราสารหนี้จึงมาจาก 2 ส่วนที่สำคัญ คือ1.   อัตราดอกเบี้ย/อัตราผลตอบแทนจากที่ผู้ออกต้องจ่ายให้แก่ผู้ถือตราสารหนี้2.   กำไร/ขาดทุนจากการขาย (Capital gain/loss) คือผลกำไรจากราคาของตราสารหนี้เพิ่มขึ้นจากตอนซื้อ หรือขาดทุนเมื่อราคาของตราสารหนี้ลดลงจากตอนซื้อ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุมาจากการที่อัตราดอกเบี้ยในตลาดขยับขึ้นหรือลง1.3 ผลตอบแทนความเสี่ยงของตราสารหนี้
การเพิ่มผลตอบแทนการลงทุนในตราสารหนี้อายุตราสารหนี้ และความเสี่ยงด้านอัตราแลกเปลี่ยน (Interest Rate Risk)
เส้น Yield Curve และลักษณะทั่วไปความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยที่เปลี่ยนแปลง กับราคาตราสารหนี้ผู้ออกตราสารหนี้ และความเสี่ยงด้านเครดิต (Credit Risk)
อันดับความน่าเชื่อถือ (Credit Ratings)
โอกาสการถูกผิดนัดชำระหนี้ (Default Rates)
 2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)คือตราสารสิทธิที่แสดงความเป็นเจ้าของกิจการผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิในการออกเสียงลงมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและมีสิทธิได้รับเงินปันผล(ตามสัดส่วนของจำนวนหุ้นที่ถือครอง) โดยจำนวนเงินปันผลจะขึ้นอ​ยู่กับผลกำไรจากการดำเนินงานประจำปี และนโยบา​ยการจ่ายปันผ​​ลของบริ​ษัท​หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock)คือตราสารสิทธิที่ผู้ถือมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการเช่นเดียวกับหุ้นสามัญ แต่มีข้อแตกต่างจากหุ้นสามัญคือ ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิในการชำระคืนเงินทุนก่อนผู้ถือหุ้นสามัญในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการ และในส่วนของผลตอบแทน เมื่อกิจการมีกำไรจากการดำเนินงาน ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับเงินปันผลในอัตราคงที่ซึ่งอาจจะมากหรือน้อยกว่าผู้ถือหุ้นสามัญก็ได้ ​​ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น (Warrant)คือตราสารที่ผู้ถือจะได้รับสิท​ธิในการซื้อหุ้นสามัญจากบริษัทที่ออก Warrant นั้นในราคาและระยะเวลาที่กำหนดไว้​ ​​ ใบสำคัญแสดงสิทธิในการจองซื้อหุ้นเพิ่มทุนที่โอนสิทธิได้ (Transferable Subscription Rights : TSR)คือตราสารที่บริษัทออกให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนจำนวนหุ้นที่ถืออยู่เพื่อให้ผู้ถือหุ้น (หรือผู้ได้รับโอนสิทธิมาจากผู้ถือหุ้นเดิม) ใช้เป็นหลักฐานในการใช้สิทธิซื้อหุ้นเพิ่มทุนของบริษัท​ ​​ ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิง (Depository Receipt : DR)
คือตราสารที่ออกและเสนอขายโดย บริษัท สยามดีอาร์ จำกัด (บริษัทในเครือของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) ซึ่งผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิเหมือนลงทุนในหลักทรัพย์อ้างอิงนั้น ๆ เช่น หากหลักทรัพย์อ้างอิงเป็นหุ้นสามัญก็จะได้รับเงินปันผลเหมือนหุ้นสามัญ แต่ DR จะมีกำหนดอายุการไถ่ถอน ซึ่งผู้ถือต้องมีสัญชาติไทย และต้องออกเสียงลงคะแนนผ่านบริษัท สยามดีอาร์ จำกัด เท่านั้น ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย(Non - Voting Depository Receipt : NVDR)คือตราสารที่ออกและเสนอขายโดย บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด มีลักษณะคล้ายกับ DR แต่ NVDR จะไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือ 3.ตราสารอนุพันธ์ (อังกฤษ: derivative บางตำราอาจเรียกว่า สัญญาอนุพันธ์) เป็นตราสารทางการเงินประเภทหนึ่ง ที่มูลค่าของตราสารจะขึ้นอยู่กับกระแสเงินของสินทรัพย์อ้างอิง ไม่ได้มีค่าจากกระแสเงินของตัวตราสารเองโดยตรง ตัวอย่างของตราสารอนุพันธ์ ได้แก่ สัญญาซื้อขายล่วงหน้าแบบมาตรฐาน (futures), สัญญาซื้อขายล่วงหน้าแบบไม่มาตรฐาน (forward), ตราสารแลกเปลี่ยน (swap), ตราสารสิทธิ (option) เป็นต้น และมีสินทรัพย์ที่สามารถอ้างอิงได้คือ เงินตราต่างประเทศ ตราสารหนี้ ตราสารทุน สินค้าโภคภัณฑ์ เช่น โลหะมีค่า สินค้าเกษตร น้ำมัน หรือสินค้าอื่นใดที่มีดัชนีแน่นอนรองรับการออกตราสารอนุพันธ์ได้4.กองทุนรวมกองทุนรวม คือ เครื่องมือในการลงทุน (investment vehicle) สำหรับผู้ลงทุนรายย่อย ที่ประสงค์จะนำเงินมาลงทุนในตลาดเงินตลาดทุน
แต่ติดขัดด้วยอุปสรรคหลายประการ ที่ทำให้การลงทุนด้วยตนเองไม่สามารถได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายที่ต้องการ เช่น      มีทุนทรัพย์จำนวนจำกัด ไม่สามารถกระจายการลงทุนในหลักทรัพย์ต่างประเภทได้มากพอ เพื่อลดความเสี่ยงจากการลงทุน หรือ      ไม่มีประสบการณ์ ความรู้ ความชำนาญในการลงทุน หรือ      ไม่มีเวลาจะศึกษา ค้นหา และติดตามข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจการลงทุน กองทุนรวม จึงเป็นเครื่องมือในการลงทุนที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการลงทุนอย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมาย   ให้การลงทุนได้รับผลตอบแทนที่ดีสุด ภายใต้กรอบความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนยอมรับได้5.1.2 สถาบันการเงิน สถาบันที่ทำหน้าที่ระดมเงินออม  ให้กู้ยืมแก่ผู้ที่ต้องการเงินไปเพื่อการบริโภคหรือเพื่อการลงทุนดำเนินธุรกิจ  โดยจ่ายดอกเบี้ยให้แก่ผู้ออม  และคิดดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืม  กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อคนเราประกอบอาชีพมีรายได้เกิดขึ้น  เขาย่อมมีอิสระที่จะนำรายได้นั้นไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภคก็ได้  หรือจะเก็บออมไว้ในสถาบันการเงินต่างๆ  เพื่อให้ได้รับดอกเบี้ยงอกเงยก็ได้  และทางด้านการเงินของประเทศปกติก็จะมีอยู่  2  กลุ่ม  คือ  กลุ่มหนึ่งมีรายได้แล้วต้องการจะเก็บออมไว้  ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งต้องการเงินทุนไปประกอบธุรกิจของตน  สถาบันการเงินจะเข้ามาเป็นตัวกลางให้บริการทางการเงินแก่คนทั้ง  2  กลุ่มนี้  สถาบันการเงินจะระดมเงินออกจากประชาชนในรูปแบบต่างๆ กัน  แล้วให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมไปลงทุนในกิจการของตน5.1.3 ตลาดการเงิน  ตลาดการเงิน (Financial Market) หมายถึง ตลาดที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้มีเงินออมกับผู้ที่ต้องการเงิน เป็นการเปลี่ยนเงินออมไปเป็นการลงทุน ทั้งในระบบของการให้สินเชื่อและการพัฒนาหลักทรัพย์หลัก นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ในการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนเงินตราด้วย    บทบาทที่สำคัญของตลาดการเงิน           1. ทำให้ผู้มีเงินออมได้รับผลคอบแทน ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของดอกเบี้ยรับ เงินปันผล หรือผลตอบแทนในรูปแบบอื่นๆ           2. ทำให้ผู้ต้องการเงินหรือผู้ลงทุนสามารถมีเงินทุนสำหรับใช้ในโครงการค่างๆ ได้ ตลาดการเงินทำให้ผู้มีโครงการลงทุนแต่มีเงินไม่เพียงพอสามารถหาแหล่งเงินกู้ไปใช้ในการลงทุนได้เพียงพอ โดยมีค่าใช้จ่ายในอัตราที่เหมาะสม ซึ่งขึ้นอยู่กับความมีประสิทธิภาพของตลาดการเงิน ถ้ามีตลาดการเงินที่มีประสิทธิภาพ ผู้กู้ก็จะสามารถหาแหล่งเงินทุนได้ด้วยต้นทุนหรือดอกเบี้ยในอัตราที่ต่ำได้ การลงทุนโดยผ่านตลาดการเงินที่มีประสิทธิภาพทำให้การลงทุนที่แท้จริงเกิดขึ้นและขยายตัว ซึ่งมีผลให้กำลังการผลิตสินค้า และบริการของประเทศเพิ่มมากขึ้น           3. ทำให้เกิดความเจริญทางเศรษฐกิจ จากการที่มีตลาดการเงินเป็นแหล่งในการระดมทุนจากเงินออมไปใช้ลงทุนในโครงการต่างๆ ดังกล่าวถูกพิจารณาอย่างรอบคอบ และมีความสำเร็จในการลงทุนอย่างดี จะมีผลทำให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัว เป็นการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตแก่เศรษฐกิจของประเทศ           4. ทำให้มาตรฐานการครองชีพของประชาชนหรือผู้บริโภคสูงขึ้น การมีตลาดการเงินทำให้ผู้มีเงินออมมีผลตอบแทน ผู้ต้องการลงทุนสามารถจัดหาเงินทุนได้ในอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสม การลงทุนขยายตัว มีการว่าจ้างงานมากขึ้น ระดับรายได้ของประชาชนทั่วไปดีขึ้น นอกจากนี้ ผู้บริโภคที่ต้องการกู้เงินเพื่อใช้จ่ายในการบริโภค เช่น การซื้อบ้าน รถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ เป็นต้น ก็สามารถหาเงินกู้เพื่อใช้จ่ายเหล่านี้ได้ มาตรฐานการครองชีพก็จะดีขึ้น ขณะเดียวกันผู้ลงทุนผลิตสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจก็จะขายสินค้าและบริการได้มากขึ้น การลงทุนก็จะขยายตัวออกไปอีก เศรษฐกิจโดยส่วนรวมของประเทศก็จะขยายตัว    ส่วนประกอบของตลาด 1. ผู้มีเงินออม ประกอบด้วย           1.1 เงินออมจากภาคเอกชน คือ การออมของบุคคลทั่วๆ ไป และหน่วยธุรกิจเอกชน           1.2 เงินออมจากภาครัฐ คือ เงินที่เกิดจากรายได้ของรัฐบาลที่สูงกว่ารายจ่ายในปีงบประมาณหนึ่งๆ ถือว่าเป็นเงินอมที่นำส่งคลัง เรียกว่า เงินคงคลัง           1.3 เงินออมจากต่างประเทศ คือ การระดมเงินจากต่างประเทศ ทำได้โดยการกู้ยืมจากต่างประเทศ รวมถึงการได้รับเงินช่วยเหลือและเงินโอนจากต่างประเทศ หรือาจจะเป็นการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศโดยภาคเอกชน 2. ผู้ต้องการเงินทุน ได้แก่           2.1 การกู้ยืมจากภาคเอกชน ได้แก้ การกู้ยืมของบุคคลทั่วไปและในธุรกิจเอกชน ทั้งเพื่อการใช้จ่ายในการอุปโภคบริโภค และการลงทุนประกอบธุรกิจ           2.2 การกู้ยืมภาครัฐบาล เช่น การกู้ยืมของรัฐบาลเพื่อการสร้างโครงสร้างทางเศรษฐกิจขั้นพื้นฐาน ได้แก่ ถนน ไฟฟ้า ประปา เป็นต้น ตลอดจนการกู้ยืมเพื่อพัฒนาหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจต่างๆ และการปรับปรุงโครงสร้างภาระหนี้ให้เหมาะสม           2.3 การกู้ยืมจากต่างประเทศ ถ้าการระดมเงินออมภายในประเทศไม่เพียงพอก็ต้องมีการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศทั้งภาครัฐบาล และภาคเอกชนในรูปแบบต่าง ๆ กัน 3. สินทรัพย์ทางการเงิน จำแนกออกไป 2 ส่วน ดังนี้           3.1 สินทรัพย์ทางการเงินที่ออกโดยภาคเอกชน ได้แก่ - ตั๋วแลกเงิน - ตั๋วสัญญาใช้เงิน - เช็ค - หุ้นกู้ - หุ้นบุริมสิทธิ์ - หุ้นสามัญ - ตราสารที่สถาบันการเงินรับรอง - ใบรับฝาก เป็นต้น           3.2 สินทรัพย์ทางการเงินที่ออกโดยรัฐบาล คือ ตราสารที่รัฐบาลออกเพื่อใช้ในการระดมเงินออม เป็นการกู้ยืมโดยภาครัฐบาล ได้แก่ พันธบัตรรัฐบาลและตั๋วเงินคลัง 4. สถาบันในตลาดการเงิน แบ่งออกเป็นหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มทำหน้าที่ต่างกันดังนี้           4.1 สถาบันที่ทำหน้าที่เป็นคนกลางหรือนายหน้าในการนำผู้ที่มีเงินออม คือผู้ที่ต้องการซื้อสินทรัพย์ทางการเงินมาพบกันผู้ที่ต้องการเงินโดย การขายสินทรัพย์ทางการเงินเพื่อตกลงซื้อขายกันโดยผู้ที่ทำหน้าที่เป็นคนกลางจะคิดค่าบริการหรือค่านายหน้าจากผู้ซื้อและหรือผู้ขาย นอกจากนั้นยังมี หน้าที่ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารและเทคนิคต่างๆ ที่จำเป็นแก่การซื้อขายดังกล่าวด้วย           4.2 สถาบันที่ทำหน้าที่เป็นผู้ค้าสินทรัพย์ทางการเงินที่สำคัญได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง และบริษัทเงินทุน           4.3 สถาบันที่ทำหน้าที่ประกันการขาย จะเป็นผู้จัดการเกี่ยวกับการจัดจำหน่ายสินทรัพย์ทางการเงินที่ออกใหม่           4.4 สถาบันที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการให้บริการด้านการซื้อขายสินทรัพย์ทางการเงิน โดยมีสถานที่ตั้งแน่นอนมีบริการที่อำนวยความสะดวกแก่ผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการซื้อขายทั้งผู้ซื้อ ผู้ขาย และผู้ที่เป็นคนกลาง เป็นต้น สถาบันนี้ได้แก่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลาดตราสารหนี้ เป็นต้น 4.5 สถาบันที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย ระเบียบ ตลอดจนกำกับดูแลให้สถาบันกลุ่มอื่นๆ ในตลาดการเงินคือปฏิบัติ ได้แก่ กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ และกรทรวงมหาดไทย ทั้งนี้เพื่อให้การดำเนินงานของสถาบันต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่กำหนด 5.1.4 ประเภทของตลาดการเงินตลาดเงิน (Money market) คือตลาดที่มีการระดมเงินจากประชาชนและการให้สินเชื่อระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี ทั้งแก่ภาครัฐและเอกชน ซึ่งรวมถึงนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย์ทางการเงินที่มีอายุการไถ่ถอนระยะสั้น เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน และตั๋วเงินคลัง เป็นต้นตลาดทุน (Capital Market) หมายถึง เป็นแหล่งระดมเงินทุนและให้สินเชื่อระยะยาวตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในตลาดทุน ได้แก่ เงินฝากประจำ กรมธรรม์ประกันชีวิต หุ้นกู้ หุ้นสามัญ และการซื้อขายพันธบัตรรัฐบาล(มีความเสี่ยงที่จะขาดทุนน้อยสุด) โดยตลาดทุนจะจำแนกออกเป็น 2 ประเภทหลักๆ ได้แก่-ตลาดทุนแรก เป็นตลาดที่ทำการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่เป็นครั้งแรก เช่น หุ้นกู้ หุ้นสามัญ รวมทั้งการระดมทุนของบริษัทประกันชีวิต และบริษัทประกันภัยโดยการขายกรมธรรม์ให้บุคคล หรือสถาบัน เป็นต้น-ตลาดทุนรอง เป็นตลาดที่ใช้ซื้อขาย หรือขายหลักทรัพย์ที่เคยผ่านมือการซื้อขายมาแล้วครั้งหนึ่ง เช่น การซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ตลาดอนุพันธ์ ตราสารทางการเงินประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นสัญญาหรือข้อตกลงที่จะซื้อหรือขายสินค้าในราคา ปริมาณ และเงื่อนไขอื่นที่ตกลงกันไว้ โดยจะทำการส่งมอบสินค้ากันในอนาคต ทั้งนี้ มูลค่าของอนุพันธ์ขึ้นอยู่กับมูลค่าของสินค้าที่ตกลงซื้อขาย หากมูลค่าของสินค้านั้นเปลี่ยนแปลงไป อนุพันธ์ก็จะมีมูลค่าเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย5.1.5 ระบบการเงิน  หมายถึง  ระบบที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้ผู้ออมและผู้ลงทุนมาพบกันโดยมีตลาดการเงินเป็นตัวกลางซึ่งมีสถาบันสำคัญคือ นายหน้า ผู้ค้า ผู้ประกันการขาย ศูนย์กลางที่ให้บริการทางด้านการขาย ตลอดจนกรอบกฎหมาย ตลาดการเงินจึงมีบทบาทสำคัญในระบบเศรษฐกิจ 

22 ความคิดเห็น:

  1. เครื่องมือทางการเงินและการตลาด 5.1.1.เครื่องมือทางการเงิน1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    นางสาวเพ็ญนิภา ต้นทอง เลขที่11 กลุ่มจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  2. ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    นางสาวสุพรรษา เวียงวัฒนชัย เลขที่ 13 กลุ่มจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  3. ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    นางสาวชนิตา หวังสุข เลขที่ 14 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  4. นางสาวมะลิสา สิริรจน์ เลขที่16 จันทร์-เช้า
    “เงินเป็นสิ่งใดก็ได้ที่เป็นที่ยอมรับ
    โดยทั่วไปของสังคมในขณะใดขณะหนึ่ง
    เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
    สินค้าและบริการที่ใช้ ในการช าระหนี้
    และอื่น ๆ ตามต้องการ”
    หน้าที่ของเงิน
    2. เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
    1. เงินเป็นเครื่องมือวัดมูลค่า
    3. เงินเป็นมาตรฐานการช าระหนี้ในอนาคต
    4. เงินเป็นเครื่องรักษามูลค่า
    5. เงินเป็นเครื่องช าระหนี้ได้ตามกฎหมาย
    6. เงินเป็นเครื่องประกันฐานะของลูกหนี้
    7. เงินเป็นเครื่องมือในการโอนย้ายมูลค่า
    8. เงินเป็นเครื่องมือให้การจ่ายค่าตอบแทนปัจจัยการ
    ผลิตเป็นไปโดยสะดวก
    9. เงินเป็นของให้และของให้ยืม
    ความส าคัญของเงินต่อระบบเศรษฐกิจ
    1. ด้านการผลิต
    2. ด้านการแลกเปลี่ยนและการอุปโภคบริโภค
    3. ด้านความเจริญทางเศรษฐกิจ
    4. ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
    5. ด้านสังคมและในระบบเศรษฐกิจ
    คุณสมบัติของสิ่งที่ใช้เป็นเงิน
    1. เป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปในสังคมเดียวกัน
    2. เป็นของที่หายาก
    3. มีความคงทนถาวร
    4. เป็นของที่มีลักษณะเหมือนกัน
    5. เป็นของที่ดูออกง่าย
    6. สามารถแบ่งออกเป็นหน่วยย่อยๆ ได้
    7. เป็นของที่มีมูลค่าคงที่
    8. เป็นของที่น าติดตัวไปได้สะดวก

    ตอบลบ
  5. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ


  6. เครื่องมือทางการเงินและการตลาด
    1)เครื่องมือทางการเงิน
    1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)
    ตอบลบ
    นางสาวปิยะเนตร เอ็นยอด เลขที่ 29 กลุ่มเรียนจันทร์เช้า

    ตอบลบ
  7. เครื่องมือทางการเงินและการตลาด
    1)เครื่องมือทางการเงิน
    1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)
    นางสาวปวีณา ศาลางาม เลขที่24 กลุ่มเรียนจันทร์เช้า

    ตอบลบ
  8. 1. ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    องค์ประกอบของตราสารหนี้ ตราสารหนี้โดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบที่สำคัญ ซึ่งพอจะจำแนกได้ดังนี้
    1. มูลค่าที่ตราไว้
    2. อัตราดอกเบี้ย
    3. งวดการจ่ายดอกเบี้ย
    4. วันหมดอายุ
    5. ชื่อผู้ออก
    6. ประเภทของตราสารหนี้
    7. ข้อสัญญา
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น
    (นางสาวจริดา บุญภา เลขที่ 10 กลุ่มเรียนวันจันทร์ – เช้า)

    ตอบลบ
  9. ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงินที่ผู้ถือ (ผู้ลงทุน) มีสถานะเป็นเจ้าหนี้ และผู้ออกมีสถานะเป็นลูกหนี้ โดยเจ้าหนี้จะได้รับผลตอบแทนในรูปของ “ดอกเบี้ย” อย่างสม่ำเสมอตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ และได้รับ “เงินต้น” คืนเมื่อครบกำหนดอายุ
    น.ส.นภัสวรรณ พิศเพ็ง เลขที่ 22 กลุ่มเรียน จันทร์(เช้า)

    ตอบลบ
  10. เครื่องมือทางการเงินและการตลาด
    1)เครื่องมือทางการเงิน
    1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)
    นางสาวกัญญารัตน์ ศรีคุณ เลขที่1 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ

  11. ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)

    นายนิกร เสาแบน เลขที่34 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  12. 5.1.1 เครื่องมือทางการเงิน
    ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้

    5.1.2 สถาบันการเงิน
    สถาบันที่ทำหน้าที่ระดมเงินออม ให้กู้ยืมแก่ผู้ที่ต้องการเงินไปเพื่อการบริโภคหรือเพื่อการลงทุนดำเนินธุรกิจ โดยจ่ายดอกเบี้ยให้แก่ผู้ออม และคิดดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืม กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อคนเราประกอบอาชีพมีรายได้เกิดขึ้น เขาย่อมมีอิสระที่จะนำรายได้นั้นไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภคก็ได้ หรือจะเก็บออมไว้ในสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อให้ได้รับดอกเบี้ยงอกเงยก็ได้ และทางด้านการเงินของประเทศปกติก็จะมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหนึ่งมีรายได้แล้วต้องการจะเก็บออมไว้ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งต้องการเงินทุนไปประกอบธุรกิจของตน
    นางสาวอัจฉราภรณ์ จองอยู่ เลขที่19 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  13. ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)
    พลอยพัชรินทร์ นามเวช เลขที่25 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  14. เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตราสารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้
    1.ตราสารหนี้ เช่น
    พันธบัตร หุ้นกู้ ตั๋วสัญญาใช้เงิน
    2.ตราสารหุ้น เช่น
    หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
    3.ตราสารอนุพันธ์ เช่น ใบสำคัญ
    แสดงสิทธิการซื้อหุ้น (Warrant)
    4.หน่วยลงทุน
    นางสาวณัฏฐนิชา วรรณบุตร เลขที่27 จันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  15. เครื่องมือทางการเงิน ได้แก่ ตราสารหนี้และตราสารทุน
    1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ) ประเภทของตราสารทุน ได้แก่หุ้นสามัญ (Common Stock)คือตราสารสิทธิที่แสดงความเป็นเจ้าของกิจการผู้ถือหุ้นสามัญมีสิทธิในการออกเสียงลงมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและมีสิทธิได้รับเงินปันผล(ตามสัดส่วนของจำนวนหุ้นที่ถือครอง) โดยจำนวนเงินปันผลจะขึ้นอยู่กับผลกำไรจากการดำเนินงานประจำปีและนโยบายการจ่ายปันผลของบริษัทหุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) คือตราสารสิทธิที่ผู้ถือมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของกิจการเช่นเดียวกับหุ้นสามัญ แต่มีข้อแตกต่างจากหุ้นสามัญคือ ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับสิทธิในการชำระคืนเงินทุนก่อนผู้ถือหุ้นสามัญในกรณีที่บริษัทเลิกกิจการ และในส่วนของผลตอบแทน เมื่อกิจการมีกำไรจากการดำเนินงาน ผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิจะได้รับเงินปันผลในอัตราคงที่ซึ่งอาจจะมากหรือน้อยกว่าผู้ถือหุ้นสามัญก็ได้
    นางสาวสุพิชฌาย์ บุญเลิศ เลขที่ 41 กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  16. 5.1.5 ระบบการเงิน หมายถึง ระบบที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้ผู้ออมและผู้ลงทุนมาพบกันโดยมีตลาดการเงินเป็นตัวกลางซึ่งมีสถาบันสำคัญคือ นายหน้า ผู้ค้า ผู้ประกันการขาย ศูนย์กลางที่ให้บริการทางด้านการขาย ตลอดจนกรอบกฎหมาย ตลาดการเงินจึงมีบทบาทสำคัญในระบบเศรษฐกิจ
    นางสาวอรุณรุ่ง เมืองนา เลขที่ 21 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ

  17. เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตราสารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้

    ทางการเงินและการตลาดเครื่องมือทางการเงิน1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ 1.1 ประเภทตราสารหนี้การแบ่งประเภทตราสารหนี้อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้1. แบ่งตามอายุของตราสารหนี้ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่มีอายุ​สั้น กลาง และยาว​2. แบ่งตามลักษณะของการจ่ายดอกเบี้ย เช่น ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราลอยตัว ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยทบต้น หรือตราสารหนี้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ย เป็นต้น3. แบ่งตามลักษณะการออกใบตราสาร ได้แก่ 3.1 ชนิดมีใบตราสาร (Scrip) เป็นตราสารหนี้ที่มีการออกใบตราสารซึ่งระบุชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ไว้ให้ครอบครอง​ 3.2 ชนิดไร้ใบตราสาร (Scripless) เป็นตราสารหนี้ที่บันทึกกรรมสิทธิ์ไว้ในบัญชีของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์โดยไม่มีการออกใบตราสาร
    นางสาวนิภารัตน์. วังสันต์กลุ่มเรียนวันจันทร์-เช้า เลขที่17

    ตอบลบ
  18. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึงกระบวนการต่างๆ และ ระบบงานที่ช่วยให้ได้สารสนเทศที่ต้องการโดยจะรวมถึง
    1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์คมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟต์แวร์ทั้งระบบสำเร็จรูปและพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะด้าน
    2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน รวบรวมข้อมูล จัดเก็บประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
    เทคโนโลยีของระบบสารสนเทศในปัจจุบัน ประกอบด้วย
    - ระบบประมวลผลข้อมูล (DP: Data Processing System)
    - ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS: Management Information System)
    - ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS: Decision Support System)
    - ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (EIS: Executive Information System)
    - ระบบผู้เชี่ยวชาญ (ES: Expert Systems)
    สารสนเทศกับการตัดสินใจ
    ในองค์การต่าง ๆ นั้น สามารถแบ่งการทำงานได้เป็น 4 ระดับด้วยกันคือ ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว (strategic planning) ระดับวางแผนการบริหาร (tactical planning) ระดับวางแผนปฏิบัติการ (operation planning) และ ระดับผู้ปฏิบัติการ (clerical) โดยใน 3 ระดับแรกนั้นจะจัดอยู่ใน ระดับบริหาร (Management) และระดับสุดท้ายจัดอยู่ใน ระดับปฏิบัติการ (Operation)
    ระบบสารสนเทศจะทำการเก็บรวมรวบข้อมูลจากระดับปฏิบัติการ และทำการประมวลผลเพื่อให้สารสนเทศกับบุคลากรในระดับต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละระดับนั้นจะใช้ลักษณะและปริมาณของสารสนเทศที่แตกต่างไป บุคลากรในแต่ละระดับจะเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศดังนี้
    1. ระดับปฏิบัติการ
    บุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องอยู่กับงานที่ทำซ้ำ ๆ กัน และจะเน้นไปที่การจัดการรายการประจำวัน นั้นคือบุคลากรในระดับนี้เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศในฐานะผู้จัดหาข้อมูลเข้าสู่ระบบ ตัวอย่างเช่น เจ้าหน้าที่ผู้ทำหน้าที่ป้อนข้อมูลการสั่งซื้อของลูกค้าเข้าสู่คอมพิวเตอร์ในระบบสารสนเทศเพื่อการขาย หรือตัวแทนการจองตั๋วและขายตั๋วในระบบจองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น
    2. ระดับวางแผนปฏิบัติการ
    บุคคลในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารขั้นต้นที่ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานประจำวัน และการวางแผนปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาสั้น ๆ เช่น แผนงานประจำวัน ประจำสัปดาห์ หรือประจำไตรมาส ข้อมูลที่ผู้บริหารระดับนี้ต้องการส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับผลการปฏิบัติในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ผู้จัดการแผนกจ่ายตรงอาจต้องการรายงานสรุปผลการขายประจำไตรมาสของพนักงานขาย เพื่อประเมินผลของพนักงานขายแต่ละคน เป็นต้น
    3. ระดับวางแผนการบริหาร
    บุคลากรในระดับนี้ จะเป็นผู้บริหารระดับกลาง ซึ่งทำหนาที่วางแผนให้บรรลุเป้าหมายต่างๆ เพื่อให้องค์กรประสบความสำเร็จตามแผนงานระยะยาวตามที่กำหนดโดยผู้บริหารระดับสูง มักจะเป็นสารสนเทศตามคาบเวลาซึ่งมีระยะเวลานานกว่าผู้บริหารขั้นต้น และจะเป็นสารสนเทศที่รวบรวมข้อมูลทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร เช่น ของคู่แข่งหรือของตลาดโดยรวม เป็นต้น นอกจากนี้ ผู้บริหารระดับนี้ยังต้องการระบบที่ให้รายงานการวิเคราะห์แบบ ถ้า-แล้ว (What - IF) นั่นคือสามารถทดสอบได้ว่าหากเกิดเหตุการณ์เช่นนี้แล้ว ตัวเลขหรือสารสนเทศต่างๆ จะเปลี่ยนเป็นเช่นไร เพื่อให้จำลองสถานการณ์ต่างๆที่ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น ผู้จัดการฝ่ายขายอาจต้องการทาบผลการขายประจำปีของบริษัทเทียบคู่แข่งต่าง ๆ รวมทั้งอาจต้องการทดสอบว่าถ้าเพิ่มหรือลดลงโฆษณาในสื่อต่าง ๆ จะมีผลกระทบต่อยอดขายอย่างไรบ้าง
    4. ระดับวางแผนยุทธศาสตร์ระยะยาว
    ผู้บริหารระดับนี้จะเป็นระดับสูงสุด ซึ่งเน้นในเรื่องเป้าประสงค์ขององค์กร ระบบสารสนเทศที่ต้องการจะเน้นที่รายงานสรุป รายงานแบบ What-if และการวิเคราะห์แนวโน้มต่างๆ (trand analysis) ตัวอย่างเช่น ประธานบริษัทอาจต้องการรายงานที่แสดงแนวโน้มการขายในอีก 4 ปีข้างหน้าของผลิตภัณฑ์ 3 ชนิดของบริษัท เพื่อดูแนวโน้มในการเติบโตของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ว่า ผลิตภัณฑ์ใดจะมีแนวโน้มที่มีกว่า หรือผลิตภัณฑ์ใดที่อาจสร้างปัญหาให้บริษัทได้ เป็นต้น
    ระบบประมวลผลข้อมูล
    น.ส พิจิตรา หอมเนียม เลขที่28
    จันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  19. ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ 1.1 ประเภทตราสารหนี้การแบ่งประเภทตราสารหนี้อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้1. แบ่งตามอายุของตราสารหนี้ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่มีอายุ​สั้น กลาง และยาว​2. แบ่งตามลักษณะของการจ่ายดอกเบี้ย เช่น ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราลอยตัว ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยทบต้น หรือตราสารหนี้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ย เป็นต้น3. แบ่งตามลักษณะการออกใบตราสาร ได้แก่ 3.1 ชนิดมีใบตราสาร (Scrip) เป็นตราสารหนี้ที่มีการออกใบตราสารซึ่งระบุชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ไว้ให้ครอบครอง​ 3.2 ชนิดไร้ใบตราสาร (Scripless) เป็นตราสารหนี้ที่บันทึกกรรมสิทธิ์ไว้ในบัญชีของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์โดยไม่มีการออกใบตราสาร
    4. แบ่งตามประเภทของผู้ออกตราสารหนี้ ได้แก่ 4.1 ตราสารหนี้ภาคเอกชน หมายถึง ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน ซึ่งอยู่ในการควบคุมดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือหุ้นกู้ เป็นต้น 4.2 ตราสารหนี้ภาครัฐ หมายถึง ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานภาครัฐ ออกจำหน่ายเพื่อระดมทุนในประเทศจากประชาชนและสถาบันการเงิน1.2 องค์ประกอบของตราสารหนี้ ตราสารหนี้โดยทั่วไปจะมีองค์ประกอบที่สำคัญ
    นางสาวจิดาภา พุฒหอม เลขที่ 26 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  20. เครื่องมือทางการเงินและการตลาด
    1)เครื่องมือทางการเงิน
    1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้
    2.ตราสารทุน หมายถึง ตราสารที่กิจการออกขายให้แก่ผู้ลงทุนเพื่อระดมเงินทุนไปใช้ในกิจการ ตราสารทุนแบ่งออกได้หลายประเภท เช่น หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ทั้งนี้ บุคคลธรรมดาที่ลงทุนในหุ้นที่ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ หากได้รับผลตอบแทนเป็นเงินปันผลจะต้องเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10 แต่ไม่ต้องเสียภาษีในกรณีของ Capital Gain (ผลตอบแทนในรูปของส่วนต่างในกรณีที่ราคาขายสูงกว่าราคาซื้อ)ประเ​ภทของตราสารทุน ได้แก่​​​​​หุ้นสามัญ (Common Stock)
    ตอบลบ
    นางสาวสุณิสา สุขชิด เลขที่ 8 กลุ่มเรียนจันทร์-เช้า

    ตอบลบ
  21. 5.1 เครื่องมือทางการเงินและการตลาด

    5.1 เครื่องมือทางการเงินและการตลาด
    5.1.1.เครื่องมือทางการเงิน1.ตราสารหนี้ คือ ตราสารทางการเงิน ในรูปของ สัญญาทางการเงินระหว่างผู้ออกตราสารหนี้ และผู้ถือตราสารหนี้ มีกำหนดอายุและอัตราดอกเบี้ยหรือผลประโยชน์ที่แน่นอน มีการระบุวันชำระดอกเบี้ยและเงินต้นล่วงหน้า หรือจะเรียกง่ายๆ ก็คือสัญญากู้ยืมเงินที่ผู้ออกตราสารอยู่ในฐานะลูกหนี้ เนื่องจากผู้ออกตราสารต้องการนำเงินไปลงทุน ส่วนผู้ซื้อจะอยู่ในฐานะเจ้าหนี้ 1.1ประเภทตราสารหนี้การแบ่งประเภทตราสารหนี้อาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้1. แบ่งตามอายุของตราสารหนี้ ได้แก่ ตราสารหนี้ที่มีอายุ​สั้น กลาง และยาว​2. แบ่งตามลักษณะของการจ่ายดอกเบี้ย เช่น ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราคงที่ ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยในอัตราลอยตัว ตราสารหนี้ที่จ่ายดอกเบี้ยทบต้น หรือตราสารหนี้ที่ไม่จ่ายดอกเบี้ย เป็นต้น3. แบ่งตามลักษณะการออกใบตราสาร ได้แก่ 3.1 ชนิดมีใบตราสาร (Scrip) เป็นตราสารหนี้ที่มีการออกใบตราสารซึ่งระบุชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ไว้ให้ครอบครอง​ 3.2 ชนิดไร้ใบตราสาร (Scripless) เป็นตราสารหนี้ที่บันทึกกรรมสิทธิ์ไว้ในบัญชีของศูนย์รับฝากหลักทรัพย์โดยไม่มีการออกใบตราสาร
    4. แบ่งตามประเภทของผู้ออกตราสารหนี้ ได้แก่ 4.1 ตราสารหนี้ภาคเอกชน หมายถึง ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน ซึ่งอยู่ในการควบคุมดูแลของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน หรือหุ้นกู้ เป็นต้น 4.2 ตราสารหนี้ภาครัฐ หมายถึง ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหน่วยงานภาครัฐ ออกจำหน่ายเพื่อระดมทุนในประเทศจากประชาชนและสถาบันการเงิน1.2 องค์ประกอบของตราสารหนี้
    5.1.2 สถาบันการเงิน สถาบันที่ทำหน้าที่ระดมเงินออม ให้กู้ยืมแก่ผู้ที่ต้องการเงินไปเพื่อการบริโภคหรือเพื่อการลงทุนดำเนินธุรกิจ โดยจ่ายดอกเบี้ยให้แก่ผู้ออม และคิดดอกเบี้ยจากผู้กู้ยืม กิจกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นเมื่อคนเราประกอบอาชีพมีรายได้เกิดขึ้น เขาย่อมมีอิสระที่จะนำรายได้นั้นไปใช้จ่ายเพื่อการบริโภคก็ได้ หรือจะเก็บออมไว้ในสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อให้ได้รับดอกเบี้ยงอกเงยก็ได้ และทางด้านการเงินของประเทศปกติก็จะมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหนึ่งมีรายได้แล้วต้องการจะเก็บออมไว้ ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งต้องการเงินทุนไปประกอบธุรกิจของตน สถาบันการเงินจะเข้ามาเป็นตัวกลางให้บริการทางการเงินแก่คนทั้ง 2 กลุ่มนี้ สถาบันการเงินจะระดมเงินออกจากประชาชนในรูปแบบต่างๆ กัน แล้วให้ผู้ที่ต้องการกู้ยืมไปลงทุนในกิจการของตน
    5.1.3 ตลาดการเงิน ตลาดการเงิน (Financial Market) หมายถึง ตลาดที่ทำหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้มีเงินออมกับผู้ที่ต้องการเงิน เป็นการเปลี่ยนเงินออมไปเป็นการลงทุน ทั้งในระบบของการให้สินเชื่อและการพัฒนาหลักทรัพย์หลัก นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ในการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนเงินตราด้วย
    5.1.4ประเภทของตลาดการเงินตลาดเงิน (Money market) คือตลาดที่มีการระดมเงินจากประชาชนและการให้สินเชื่อระยะสั้นไม่เกิน 1 ปี ทั้งแก่ภาครัฐและเอกชน ซึ่งรวมถึงนิติบุคคลและบุคคลธรรมดา รวมทั้งการซื้อขายหลักทรัพย์ทางการเงินที่มีอายุการไถ่ถอนระยะสั้น เช่น ตั๋วแลกเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน และตั๋วเงินคลัง เป็นต้นตลาดทุน (Capital Market)หมายถึง เป็นแหล่งระดมเงินทุนและให้สินเชื่อระยะยาวตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นหลักทรัพย์ในตลาดทุน
    5.1.5 ระบบการเงิน หมายถึง ระบบที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้ผู้ออมและผู้ลงทุนมาพบกันโดยมีตลาดการเงินเป็นตัวกลางซึ่งมีสถาบันสำคัญคือ นายหน้า ผู้ค้า ผู้ประกันการขาย ศูนย์กลางที่ให้บริการทางด้านการขาย ตลอดจนกรอบกฎหมาย ตลาดการเงินจึงมีบทบาทสำคัญในระบบเศรษฐกิจ


    ชื่อ นายคณิต ไชยบุตร (จันทร์-เช้า)เลขที่ 38 (กลุ่ม 5.3)






    ตอบลบ
  22. เครื่องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสือสำคัญซึ่งเป็นเอกสารแสดงสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิในการเป็นเจ้าของ สิทธิในการเป็นเจ้าหนี้ สิทธิที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตราสารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้
    1.ตราสารหนี้ เช่น
    พันธบัตร หุ้นกู้ ตั๋วสัญญาใช้เงิน
    2.ตราสารหุ้น เช่น
    หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ
    3.ตราสารอนุพันธ์ เช่น ใบสำคัญ
    แสดงสิทธิการซื้อหุ้น (Warrant)
    4.หน่วยลงทุน
    น.สกฤษติกา เปรียบดีสุด เลขที่7

    ตอบลบ

สรุปบทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์

สรุปบทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ แนว คิดกลยุทธ์ทางการแข่งขั น         เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาผล...