วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561

บทที่ 3 การแก้ปัญหาทางธุรกิจด้วยระบบสารสนเทศ


บทที่ 3 การแก้ปัญหาทางธุรกิจด้วยระบบสารสนเทศ

สรุปเนื้อหาบทที่ 3

แนวคิดเชิงระบบ(System Approach)
       การใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ แสดงถึงการปฏิวัติการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวงการธุรกิจ ซึ่งจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการทำงานของกลุ่มเป้าหมายออนไลน์ ช่วยในการพัฒนาสินค้า ช่วยสนับสนุนด้านลูกค้าหรืองานงานอื่นๆ ระบบสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตจึงเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันและเพิ่มบทบาทในธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยให้ธุรกิจทุกประเภทปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในขั้นตอนการทำงานของธุรกิจให้ดียิ่งขึ้น
กำหนดปัญหาและแนวทางการแก้ไข(Defining Problems and Opportunities)
       ปัญหาและแนวทางแก้ไขได้ถูกกำหนดให้เป็นขั้นตอนแรกของแนวคิดเชิงระบบ แนวทางแก้ไข คือ ภาวะพื้นฐาน่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ สัญญาณบอกเหตุจะต้องแยกออกจากคำว่าปัญหา โดยสัญญาณบอกเหตุ (Symptoms) หมายถึง ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาอื่นๆ(Developing Alternative Solutins)
       แหล่งข้อมูลที่ดีของทางเลือกอื่นๆ จะได้จาก ประสบการณ์ หรือแนวทางที่เคยใช้ได้ผลมาแล้วในอดีต อีกแหล่งข้อมูลหนึ่งก็คือ คำแนะนำจากคนอื่นๆ รวมทั้งคำแนะนำจากที่ปรึกษาและจากระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert System)ควรใช้ทักษะในการแสวงหาวิธีการใหม่ๆร่วมกับแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยพิจารณาถึงข้อจำกัดทางด้าน การเงิน บุคลากร และทรัพยากรของบริษัท อันจะทำให้มองเห็นทางเลือกที่จะทำให้เป็นจริงได้
ประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาอื่น(Evaluating Alternative Solutions)
       เมื่อทางเลือกในการแก้ไขปัญหาได้ถูกพัฒนาขึ้น ให้ประเมินหาข้อสรุปวิธีทางในการแก้ไขปัญหาใดที่ตรงกับความต้องการของธุรกิจและความต้องการของบุคลากรมากที่สุด ความต้องการเหล่านี้คือกุญแจสำคัญที่จำเป็นต่อความสำเร็จทั้งด้านบุคลากรและธุรกิจ
การเลือกแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด(Select the Best Solution)
       เมื่อประเมินแนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถเริ่มกระบวนการคัดเลือกแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมที่สุด โดยสามารถประเมินเปรียบเทียบจากหลักเกณฑ์เดียวกัน

การออกแบบและนำแนวทางในการแก้ไขปัญหาไปใช้จริง(Design and Implementing a solution)
       แผนการนำไปประยุกต์ใช้ที่กำหนดแหล่งข้อมูล กิจกรรม และระยะเวลาสำหรับขั้นตอนการนำไปใช้ที่เหมาะสม ดังนั้นการออกแบรายละเอียดและแผนการนำไปประยุกต์ใช้สำหรับระบบการส่งเสริมการขายด้วยคอมพิวเตอร์ ควรประกอบด้วยประเภทและแหล่งของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ที่ต้องจัดหาสำหรับพนักงานขาย
ขั้นตอนในการสนับสนุนระบบการขายใหม่
การฝึกอบรมพนักงานอื่นๆ
การปรับระบบเดิมเข้าสู่ระบบใหม่ และกำหนดตารางเวลาในการนำไปใช้จริง
การประเมินหลังการนำไปใช้(Postimplementation Review)
       ขั้นตอนสุดท้ายของแนวคิดเชิงระบบ คือ การตระหนักว่าแนวทางแก้ปัญหาที่นำไปใช้อาจล้มเหลวได้ ในโลกแห่งความเป็นจริงอาจมีสิ่งที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ผลที่ได้จากการนำวิธีการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ครวถูกจับตามองและประเมิน เรียกขั้นตอนนี้ว่ากระบวนการทบทวนหลังการนำไปใช้ เป้าหมายคือการหาข้อสรุปของการนำไปใช้จริงที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การใช้แนวคิดเชิงระบบ(Using the systems Approach)
       ลองนำแนวคิดเชิงระบบมาประยุกต์สู่แนวทางแก้ไขปัญหากับบริษัทที่กำลังเผชิญหน้าอยู่ในโลกธุรกิจอ่านกรณีศึกษาและร่วมกันวิเคราะห์ โดยใช้แนวคิดเชิงระบบแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอน
การกำหนดปัญหา(Defining the Problem)
       มีสัญณานบอกเหตุถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับ Auto Shack ในอนาคต คือ สัญณานบอกเหตุด้านผลปฏิบัติการด้านการขาย   สัญณานบอกเหตุด้านการทำงานของพนักงาน สัญณานบอกเหตุด้านการจัดการ
ความชัดเจนของปัญหา(Statement of Problem)
       ผู้จัดการ พนักงานขาย และลูกค้าได้รับสารสนเทศด้านสินค้าและบริการไม่ดีเท่าที่ครวผลปฏิบัติงานด้านการขายในหน่วยงานเกิดความเสียหายจากกระบวนการขายที่ลดลง จึงใช้เวลาส่วนใหญ่ในการพยายามหาข้อมูล ทำให้ลดเวลาในด้านบริหาร ด้วยเหตุนี้ คุณภาพของการตัดสินใจด้านการตลาดและผลงานด้านการขายของบริษัทจึงยังคงมีปัญหาอยู่เช่นเดิม
ความชัดเจนของความต้องการทางธุรกิจ(Statement of Business Requirements)
       ระบบ POS คือกำหนดฐานงานเป็นไปได้ในการสนับสนุนบทบาทของระบบสาระสนเทศ แผนการนี้ยังได้กำหนดความต้องการด้านอื่นๆเพื่อให้เข้ากับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่
หลักการสำหรับแนวทางแก้ไขปัญหาที่เลือก(Rationale for the Select Solutions)
         Auto Shack store ครวพัฒนาระบบสารสนเทศการขายแบบ POS ซึ่งจะทำให้กระบวนการขายของพนักงานสะดวกรวดเร็วขึ้นและช่วยผู้จัดการให้ได้รับข้อมูลที่ตรงกับความต้องการได้ทันท่วงที
แนวทางในการแก้ปัญหาด้วยการพัฒนาระบบสารสนเทศ(Developing Is Solution)
       ในทุกวันนี้การแก้ไขปัญหาทางธุรกิจด้วยการพฒันาระบบข้อมูล เป็นความรับผิดชอบของนักธุรกิจมืออาชีพ และในฐานะผู้ใช้ คุณสามารถรับผิดชอบสำหรับการวางแผนเพื่อพัฒนาระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบสารสนเทศเดิมสำหรับบริษัทของคุณ
วงจรการพัฒนาระบบ(Systems Development cycle)
       การใช้แนวคิดเชิงระบบเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการพัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับกระบวนการที่มีหลายขั้นตอนที่เรียกว่า วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศหรือวงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ
การเริ่มกระบวนการพัฒนาระบบ(Starting the Systems Development Process)       
       การดำเนินธุรกิจมีปัญหา(หรือมีโอกาส)ไหมอะไรเป็นต้นเหตุของปัญหานั้น การสร้างหรือปรับปรุงระบบจะช่วยแก้ไขปัญหาได้หรือไม่ อะไรที่ระบบสารสนเทศจะช่วยแก้ไขปัญหา
การศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Studies)
       การศึกษาความเป็นไปได้ เป็นการศึกษาขั้นต้นเพื่อสืบค้นหาความต้องการของสาระสนเทศในมุมมองของผู้ใช้และหาข้อสรุปของแหล่งข้อมูลที่ต้องการ ราคา ผลประโยชน์ที่จะได้รับและความเป็นไปได้ของโครงการ
การวิเคราะห์ระบบ(Systems Analysis) การวิเคราะห์ระบบเมื่อใดก็ตามที่คุณต้องการพัฒนาระบบงานใหม่อย่างรวดเร็วหรือเกี่ยวข้องกับโครงการระยะยาว
การวิเคราะห์องค์กร(Organizational Analysis) การวิเคราะห์องค์กร เป็นก้าวแรกที่สำคัญของการวิเคราะห์ระบบ จะปรับปรุงระบบสารสนเทศได้อย่างไรหากไม่รู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อมในองค์กรที่จะทำการวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน(Analysis of the Present Systems)
       สิ่งสำคัญที่จะต้องศึกษา คือ ระบบเดิมที่จะปรับปรุงหรือถูกแทนที่วิเคราะห์การใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ เครือข่าย และบุคลากร เพื่อจะทำการถ่ายโอนข้อมูลเดิม
การวิเคราะห์ความต้องการในการใช้งาน(Functional Requiremeents Analysis)        
       ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบนั้นเป็นส่วนที่ยากที่สุด คุณอาจต้องทำงานเป็นทีมกับนักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้อื่นๆเพื่อหาข้อสรุปในความต้องการสารสนเทศที่เฉพาะเจาะจง
การออกแบบระบบ(Systems Desing)
       การวิเคราะห์ระบบ แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ระบบควรทำ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
การกำหนดรายละเอียดของระบบ(System Specifications)
       การกำหนดรายละเอียดของระบบ โดยทั่วไปหมายถึง วิธีการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ของระบบงาน
การสร้างต้นแบบ(Prototyping)
        การสร้างต้นแบบ เป็นพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่
การใช้งานระบบสารสนเทศใหม่(Implementation a New Information System)
       เมื่อระบบสารสนเทศใหม่ได้ถูกออกแบบแล้วก็จะนำไปใช้งานจริงแสดงให้เห็นขั้นตอนการนำระบบใหม่ไปใช้
การบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ(Maintenance of Information Systems)        การบำรุงรักษาระบบ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรการพัฒนาระบบเรื่องนี้เกี่ยวข้องกับการสำรวจ ประเมิน และปรับเปลี่ยนระบบเพื่อให้เป็นตามที่ต้องการ
คอมพิวเตอร์ช่วยงานด้านวิศวกรรมระบบ(Computer-Aided Systems Engineering:CASE)        
       คอมพิวเตอร์ช่วยงานด้านวิศวกรรมระบบ หรือคอมพิวเตอร์ช่วยงานด้านวิศวกรรมซอฟแวร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ซอฟแวร์สำเร็จที่เรียกว่า เคสทูลเพื่อจัดการกับงานของวงจรการพัฒนาระบบ
การใช้เคสทูล(Using CASE Tools)
       ความสำคัญของเคสทูลที่เป็นเครื่องมือช่วยในงานส่วนหน้าของวงจรการพัฒนาระบบและงานส่วนหลังของการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้(End User Development)
       สามารถสร้างแนวทางใหม่หรือปรับปรุงระบบงาเดิมโดยปราศจากความช่วยเหลือของผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศได้การเน้นเรื่องภารกิจระบบสารสนเทศ(Focus on Activities)    การพัฒนาผู้ใช้ควรจะมุ่งเน้นเรื่องพื่นฐานของระบบสารสนเทศ

ข้อสอบย่อย
1. กระบวนการแก้ไขปัญหามีกี่ขั้นตอน
ก. 2 ขั้นตอน
ข. 4 ขั้นตอน
ค. 6 ขั้นตอน
ง. 8 ขั้นตอน

2. Systems Approach คืออะไร
ก. แนวคิดเชิงระบบ
ข. การคิดอย่างเป็นระบบ
ค. วงจรการพัฒนาระบบ
ง. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การออกแบบรายละเอียดและแผนการนำไปประยุกต์ใช้สำหรับระบบการส่งเสริมการขายด้วยคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยกี่ขั้นตอน
ก. 3 ขั้นตอน
ข. 4 ขั้นตอน
ค. 5 ขั้นตอน
ง. 6 ขั้นตอน

4. สัญญาณบอกเหตุ หมายถึงอะไร
ก. ปัญหาและโอกาสในการแก้ไขปัญหา
ข. ปัญหาจากการถูกพัฒนาขึ้น
ค. ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นขึ้นจริงแต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
ง. ถูกทุกข้อ

5.) สัญญาณบอกเหตุ หมายถึงอะไร
ก. ปัญหาและโอกาสในการแก้ไขปัญหา
ข. ปัญหาจากการถูกพัฒนาขึ้น
ค. ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นขึ้นจริงแต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
ง. ถูกทุกข้อ
6.) Statement of the Problem ความหมายตรงกับข้อใด
ก. การกำหนดปัญหา
ข. ความชัดเจนของปัญหา
ค. ความชัดเจนของความต้องการทางธุรกิจ
ง. ถูกทุกข้อ
7.) เป้าหมายของการศึกษาความเป็นไปได้ขององค์กร คืออะไร
ก. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเศรษรฐกิจ
ข. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับความอยู่รอม ความมั่นคงขององค์กร
ค. ระบบสารสนเทศที่ษึกษาเกี่ยวกับระบบต่างๆในองค์กร
ง. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงาน การพัฒนาความเป็นไปได้ขององค์กร
8.) การออกแบบให้รายละเอียดในเรื่องอะไรบ้าง
ก. ลักษณะ ประจำ กฏบูรณภาพ
ข. ลักษณะเฉพาะ กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละคน
ค. ลักษณะประจำ หรือลักษณะเฉพาะของเอนทิตี ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละ เอนทิตี ที่มีต่อกัน
     กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย กฏบูรณภาพ
ง. ถูกทุกข้ัอ
9.)การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบสามารถประเมินได้จากเกณฑ์หลักๆทั้งหมดกี่เกณฑ์
ก. 2 เกณฑ์
ข. 3 เกณฑ์
ค. 4 เกณฑ์
ง. 5 เกณฑ์
10.) สัญญาณบอกเหตุด้านการจัดการ ตรงกับข้อใด
ก. พนักงานขายใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเขียนใบสั่งซื้อสินค้า
ข. การขยายตัวด้านการขายลดลงกว่าปีที่แล้วและในอัตราที่ต่ำกว่าคู่แข่ง
ค. ผู้จัดการให้ความสำคัญกับการวางแผนมากเกินไปจนส่งผลกับงาน
ง. บริษัทและผู้จัดการใช้เวลามากไปกับการรวบรวมข้อมูลที่สำคัญ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. นักศึกษาสามารถใช้แนวคิดเชิงระบบในการแก้ไขปัญหา เช่นเดี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทางด้าน การตลาด ทางด้านการเงิน ทางด้านทรัพยากรมนุษย์หรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ  ใช้ เพราะแนวคิดเชิงระบบในการใช้แก้ปัญหานั้น เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้ทุกทางของปัญหา และเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดลำดับความคิดมากขึ้น

2. ทำไมนักศึกษาจึงคิดว่า การจัดทำต้นแบบ (Prototyping) จึงกลายมาเป็นที่นิยมในการพัฒนาระบบใหม่ทางธุรกิจที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นพื้นฐาน
ตอบ เป็นการพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยคคำสั่งในโปรแกรม เรียก การรวนรอบ

3. ให้นักศึกษาอธิบายว่า ปัจจุบันมีการนำการจัดทำต้นแบบเข้ามาแทนที่ หรือมาเสริมการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ตอบ การสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบงานขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิม ต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดความต้องการจากผู้ใช้นั้นจะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำหรือปรับแต่งในส่วนของรายละเอียดจนผู้ใช้ให้การยอมรับ การทำต้นแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานด้านธุรกิจ

4.จงออกแบบแนวคิดเชิงระบบ จากกรณีศึกษาต่อไปนี้ เพื่อนำระบบสารสนเทศมาใช้แก้ไขปัญหาทางธุรกิจที่เกิดขึ้นของธุรกิจขายประกันชีวิตแห่งหนึ่ง ที่มีงบทุน 3,000,000 บาท และมีรายได้เฉลี่ยปีละ 300,000 บาท แต่ในปัจจุบันยอดขายลดลง เนื่องจากตัวแทนประกันไม่สามารถให้ข้อมูลการประกันชีวิตได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า เพราะมีเอกสารเกี่ยวกับการประกันชีวิตหลายรูปแบบและวิธีการคำนวณเบี้ยประกันที่ซับซ้อน จึงทำให้เกิดความล่าช้าในการให้ข้อมูลและทำให้สูญเสียลูกค้าเป็นจำนวนมาก ซึ่งฝ่ายสารสนเทศของบริษัทได้พัฒนาทางเลือกไว้ 2 ทางเพื่อการนำเสนอต่อผู้บริหาร คือ

          ทางเลือกที่ 1  ให้ตัวแทนประกันใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุคและติดตั้งระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิต ซึ่งจะสามารถช่วยในการคำนวณและให้รายละเอียดที่ลูกค้าต้องการได้ทันที และสามารถส่งข้อมูลการทำประกันเข้าระบบอินทราเน็ตของบริษัทได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 1,000,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 100,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลในระดับ ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุด และมีความสะดวกต่อการใช้งานอยู่ในระดับดี มีความเชื่อถืออยู่ในระดับดีเยี่ยม

          ทางเลือกที่ 2 ให้แฟ้มเอกสารที่บันทึกข้อมูลการประกันชีวิตอย่างละเอียดทั้งหมดกับตัวแทนพร้อมทั้งแบบฟอร์มการขอประกันที่สามารถส่งเป็นจดหมายจากที่ทำการไปรษณีย์ถึงบริษัทได้ทันทีที่ลูกค้าตอบรับ และนำแบบฟอร์มการขอเอาประกันดังกล่าวมาบันทึกข้อมูลที่ระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิตที่ติดตั้งบันเครื่องพีซีของบริษัท ทางเลือกนี้ มีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 200,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 300,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลและความสะดวกต่อการใช้งานในระดับพอใช้ มีความเชื่อถือในระดับดีเยี่ยม
ตอบ   หลักเกณฑ์ น้ำหนัก ทางเลือกที่ 1 คะแนน ทางเลือกที่ 2 คะแนน
           ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 20 1,000,000 บาท 12 200,000 บาท 20
           ค่าใช้จ่ายในการเดินเนินงาน 30 100,000 บาท 25 300,000 บาท 18
           สะดวกต่อการใช้งาน 20 ดี 16 พอใช้ 12
           ความถูกต้อง 20 ดีเยี่ยม 20 พอใช้ 8
           ความน่าเชื่อถือ 10 ดีเยี่ยม 10 ดีเยี่ยม 10
                           รวม 100 83 68
เลือกทางเลือกที่ 1 เพราะว่าง่ายต่อการใช้งานดี มีความถูกต้องดีเยี่ยม และความถูกต้องดีเยี่ยม ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถึงค่าใช้จ่ายเริ่มต้นจะสูงก็ตามแต่ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อปีน้อยกว่าทางเลือกที่ 2

5.มีซอฟต์แวร์ประยุกต์อะไรบ้างที่ผู้ใช้สามารถนำมาประยุกต์ใช้พัฒนาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต เว็บไซท์
ตอบ ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆหนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ
          ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูลส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น

6. การนำเอาซอฟต์แวร์ Case Tools มาช่วยสนับสนุนขั้นตอนของวงจรการพัฒนานั้น แต่ก็มีไม่มากนักที่ประสบความสำเร็จในท้องตลาดทั่วไปและในลักษณะเช่นเดียวกันก็มีการนำเอา CASE Tools ไปช่วยนักพัฒนาในส่วนของการจัดทำต้นแบบ และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ในระดับบุคคล นักศึกษาคิดว่า เป็นเพราะเหตุผลใดที่มีเหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้น
ตอบ  เพราะการใช้ I-CASE สามารถใช้ช่วยการพัฒนาระบบทุกส่วนของเคสทูล ช่วยสนับสนุน JAD ซึ่งกลุ่มของนักวิเคราะห์ระบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ สามารถใช้งานร่วมกันใยการออกแบบระบบงานใหม่ได้อย่างดี
คำถามกรณีศึกษา
1. การใช้แนวคิดเชิงระบบ ได้ช่วยให้บริษัทแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างไร
ตอบ ช่วยให้บริษัทมียอดขายเพิ่มมากขึ้นและมีลูกค้าประจำและมีอัตราของลูกค้าที่มาใช้บริการมากขึ้นตามลำดับเป็นระบบการตลาดสำหรับลูกค้าบนซอฟต์แวร์คลังข้อมูลสามารถทำการตลาดได้เป็นอย่างดี

2. คุณเห็นด้วยหรือไม่กับแนวทางที่บริษัทใช้ในการแก้ปัญหา ทำไมจึงเห็นด้วยและทำไมจึงไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการมีข้อมูลของลูกค้าเก็บไว้นี้แสดงว่าเรายังรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไรจากบริษัทเราและมีการบริหารการตลาดเชิงลูกค้าสัมพันธ์เพื่อเก็บรายชื่อลูกค้าประจำแล้วยังสามารถดึงดูดลูกค้ามาใช้บริการได้มากขึ้น

3.อะไรอีกที่คุณอยากแนะนำให้คามิลอททำเพื่อปรับปรุงสถานการณ์ทางธุรกิจของบริษัท แล้วจะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยได้อย่างไร
ตอบ  ควรมีการกระทำการตลาดออนไลน์และทำการวัดส่งไปยังลูกค้าที่ต้องการปริมาณของสินค้าจำนวนมากให้ถึงมือลูกค้ามีการวิจัยลูกค้าว่าเขาต้องการอะไรจากทางบริษัทหรือบริการที่บริษัทควรมีให้เพื่อความสะดวกสบาย


1. อะไรคือขั้นตอนที่แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนากระบวนการจัดทำเว็บไซท์ของบริษัท Millipore
ตอบ  แนวคิดทางบริษัทไม่ต้องการใช้วิธีการหาคำตอบด้วยการเดาความต้องการของส่วนประกอบและการใช้งานต่างๆ ที่จะเพิ่มในเว็บไซท์ของบริษัท www.millipore.com  Tom Anderson  ผู้จัดการด้านสื่อสารองค์กร สำนักงานใหญ่ที่เมือง Bedford รัฐ Massachuetts กล่าวว่า จะสอบถามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ในสิ่งที่ลูกค้าต้องการ                                   

2. ทำไมการสำรวจลูกค้าบนเว็บแบบออนไลน์ จึงไม่สามารถวัดของต้องการของลูกค้าที่เท่าที่ควร
ตอบ เพราะว่าเราจะพบแต่สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการบนเว็บไซท์ได้ทำกิจกรรมอะไรบ้างบนเว็บและส่วนข้อมูลที่เห็นอย่างชัดเจนนั้น  คือ ข้อมูลในการลงทะเบียนเข้าใช้เว็บ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลยโทรศัพท์ โดยที่เราไม่มีแบบสอบถามที่มีรายละเอียดมากกว่านี้จึงทำให้ไม่สามารถรู้ถึงความต้องการของลูกค้าได้เท่าที่ควร

3. คุณเห็นด้วยกับการแก้ไขปัญหาของ Millipore เพื่อพัฒนาเว็บไซท์สำหรับลูกค้า ทำไมเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการที่สำรวจหรือต้องการรู้ถึงความต้องการของลูกค้านั้นเราจำเป็นต้องมีรายละเอียดและสิ่งที่ลูกค้าต้องการ  โดยการพัฒนาเว็บไซท์ที่มีประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเหมะแก่ลูกค้าและเจ้าของกิจการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อทางบริษัทที่ต้องการข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้
5.) สัญญาณบอกเหตุ หมายถึงอะไร
ก. ปัญหาและโอกาสในการแก้ไขปัญหา
ข. ปัญหาจากการถูกพัฒนาขึ้น
ค. ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นขึ้นจริงแต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
ง. ถูกทุกข้อ
6.) Statement of the Problem ความหมายตรงกับข้อใด
ก. การกำหนดปัญหา
ข. ความชัดเจนของปัญหา
ค. ความชัดเจนของความต้องการทางธุรกิจ
ง. ถูกทุกข้อ
7.) เป้าหมายของการศึกษาความเป็นไปได้ขององค์กร คืออะไร
ก. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเศรษรฐกิจ
ข. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับความอยู่รอม ความมั่นคงขององค์กร
ค. ระบบสารสนเทศที่ษึกษาเกี่ยวกับระบบต่างๆในองค์กร
ง. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงาน การพัฒนาความเป็นไปได้ขององค์กร
8.) การออกแบบให้รายละเอียดในเรื่องอะไรบ้าง
ก. ลักษณะ ประจำ กฏบูรณภาพ
ข. ลักษณะเฉพาะ กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละคน
ค. ลักษณะประจำ หรือลักษณะเฉพาะของเอนทิตี ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละ เอนทิตี ที่มีต่อกัน
     กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย กฏบูรณภาพ
ง. ถูกทุกข้ัอ
9.)การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบสามารถประเมินได้จากเกณฑ์หลักๆทั้งหมดกี่เกณฑ์
ก. 2 เกณฑ์
ข. 3 เกณฑ์
ค. 4 เกณฑ์
ง. 5 เกณฑ์
10.) สัญญาณบอกเหตุด้านการจัดการ ตรงกับข้อใด
ก. พนักงานขายใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเขียนใบสั่งซื้อสินค้า
ข. การขยายตัวด้านการขายลดลงกว่าปีที่แล้วและในอัตราที่ต่ำกว่าคู่แข่ง
ค. ผู้จัดการให้ความสำคัญกับการวางแผนมากเกินไปจนส่งผลกับงาน
ง. บริษัทและผู้จัดการใช้เวลามากไปกับการรวบรวมข้อมูลที่สำคัญ


แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. นักศึกษาสามารถใช้แนวคิดเชิงระบบในการแก้ไขปัญหา เช่นเดี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทางด้าน การตลาด ทางด้านการเงิน ทางด้านทรัพยากรมนุษย์หรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ  ใช้ เพราะแนวคิดเชิงระบบในการใช้แก้ปัญหานั้น เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้ทุกทางของปัญหา และเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดลำดับความคิดมากขึ้น

2. ทำไมนักศึกษาจึงคิดว่า การจัดทำต้นแบบ (Prototyping) จึงกลายมาเป็นที่นิยมในการพัฒนาระบบใหม่ทางธุรกิจที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นพื้นฐาน
ตอบ เป็นการพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยคคำสั่งในโปรแกรม เรียก การรวนรอบ

3. ให้นักศึกษาอธิบายว่า ปัจจุบันมีการนำการจัดทำต้นแบบเข้ามาแทนที่ หรือมาเสริมการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ตอบ การสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบงานขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิม ต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดความต้องการจากผู้ใช้นั้นจะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำหรือปรับแต่งในส่วนของรายละเอียดจนผู้ใช้ให้การยอมรับ การทำต้นแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานด้านธุรกิจ

4.จงออกแบบแนวคิดเชิงระบบ จากกรณีศึกษาต่อไปนี้ เพื่อนำระบบสารสนเทศมาใช้แก้ไขปัญหาทางธุรกิจที่เกิดขึ้นของธุรกิจขายประกันชีวิตแห่งหนึ่ง ที่มีงบทุน 3,000,000 บาท และมีรายได้เฉลี่ยปีละ 300,000 บาท แต่ในปัจจุบันยอดขายลดลง เนื่องจากตัวแทนประกันไม่สามารถให้ข้อมูลการประกันชีวิตได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า เพราะมีเอกสารเกี่ยวกับการประกันชีวิตหลายรูปแบบและวิธีการคำนวณเบี้ยประกันที่ซับซ้อน จึงทำให้เกิดความล่าช้าในการให้ข้อมูลและทำให้สูญเสียลูกค้าเป็นจำนวนมาก ซึ่งฝ่ายสารสนเทศของบริษัทได้พัฒนาทางเลือกไว้ 2 ทางเพื่อการนำเสนอต่อผู้บริหาร คือ

          ทางเลือกที่ 1  ให้ตัวแทนประกันใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุคและติดตั้งระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิต ซึ่งจะสามารถช่วยในการคำนวณและให้รายละเอียดที่ลูกค้าต้องการได้ทันที และสามารถส่งข้อมูลการทำประกันเข้าระบบอินทราเน็ตของบริษัทได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 1,000,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 100,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลในระดับ ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุด และมีความสะดวกต่อการใช้งานอยู่ในระดับดี มีความเชื่อถืออยู่ในระดับดีเยี่ยม

          ทางเลือกที่ 2 ให้แฟ้มเอกสารที่บันทึกข้อมูลการประกันชีวิตอย่างละเอียดทั้งหมดกับตัวแทนพร้อมทั้งแบบฟอร์มการขอประกันที่สามารถส่งเป็นจดหมายจากที่ทำการไปรษณีย์ถึงบริษัทได้ทันทีที่ลูกค้าตอบรับ และนำแบบฟอร์มการขอเอาประกันดังกล่าวมาบันทึกข้อมูลที่ระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิตที่ติดตั้งบันเครื่องพีซีของบริษัท ทางเลือกนี้ มีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 200,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 300,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลและความสะดวกต่อการใช้งานในระดับพอใช้ มีความเชื่อถือในระดับดีเยี่ยม
ตอบ   หลักเกณฑ์ น้ำหนัก ทางเลือกที่ 1 คะแนน ทางเลือกที่ 2 คะแนน
           ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 20 1,000,000 บาท 12 200,000 บาท 20
           ค่าใช้จ่ายในการเดินเนินงาน 30 100,000 บาท 25 300,000 บาท 18
           สะดวกต่อการใช้งาน 20 ดี 16 พอใช้ 12
           ความถูกต้อง 20 ดีเยี่ยม 20 พอใช้ 8
           ความน่าเชื่อถือ 10 ดีเยี่ยม 10 ดีเยี่ยม 10
                           รวม 100 83 68
เลือกทางเลือกที่ 1 เพราะว่าง่ายต่อการใช้งานดี มีความถูกต้องดีเยี่ยม และความถูกต้องดีเยี่ยม ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถึงค่าใช้จ่ายเริ่มต้นจะสูงก็ตามแต่ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อปีน้อยกว่าทางเลือกที่ 2

5.มีซอฟต์แวร์ประยุกต์อะไรบ้างที่ผู้ใช้สามารถนำมาประยุกต์ใช้พัฒนาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต เว็บไซท์
ตอบ ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆหนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ
          ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูลส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น

6. การนำเอาซอฟต์แวร์ Case Tools มาช่วยสนับสนุนขั้นตอนของวงจรการพัฒนานั้น แต่ก็มีไม่มากนักที่ประสบความสำเร็จในท้องตลาดทั่วไปและในลักษณะเช่นเดียวกันก็มีการนำเอา CASE Tools ไปช่วยนักพัฒนาในส่วนของการจัดทำต้นแบบ และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ในระดับบุคคล นักศึกษาคิดว่า เป็นเพราะเหตุผลใดที่มีเหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้น
ตอบ  เพราะการใช้ I-CASE สามารถใช้ช่วยการพัฒนาระบบทุกส่วนของเคสทูล ช่วยสนับสนุน JAD ซึ่งกลุ่มของนักวิเคราะห์ระบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ สามารถใช้งานร่วมกันใยการออกแบบระบบงานใหม่ได้อย่างดี
คำถามกรณีศึกษา
1. การใช้แนวคิดเชิงระบบ ได้ช่วยให้บริษัทแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างไร
ตอบ ช่วยให้บริษัทมียอดขายเพิ่มมากขึ้นและมีลูกค้าประจำและมีอัตราของลูกค้าที่มาใช้บริการมากขึ้นตามลำดับเป็นระบบการตลาดสำหรับลูกค้าบนซอฟต์แวร์คลังข้อมูลสามารถทำการตลาดได้เป็นอย่างดี

2. คุณเห็นด้วยหรือไม่กับแนวทางที่บริษัทใช้ในการแก้ปัญหา ทำไมจึงเห็นด้วยและทำไมจึงไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการมีข้อมูลของลูกค้าเก็บไว้นี้แสดงว่าเรายังรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไรจากบริษัทเราและมีการบริหารการตลาดเชิงลูกค้าสัมพันธ์เพื่อเก็บรายชื่อลูกค้าประจำแล้วยังสามารถดึงดูดลูกค้ามาใช้บริการได้มากขึ้น

3.อะไรอีกที่คุณอยากแนะนำให้คามิลอททำเพื่อปรับปรุงสถานการณ์ทางธุรกิจของบริษัท แล้วจะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยได้อย่างไร
ตอบ  ควรมีการกระทำการตลาดออนไลน์และทำการวัดส่งไปยังลูกค้าที่ต้องการปริมาณของสินค้าจำนวนมากให้ถึงมือลูกค้ามีการวิจัยลูกค้าว่าเขาต้องการอะไรจากทางบริษัทหรือบริการที่บริษัทควรมีให้เพื่อความสะดวกสบาย


1. อะไรคือขั้นตอนที่แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนากระบวนการจัดทำเว็บไซท์ของบริษัท Millipore
ตอบ  แนวคิดทางบริษัทไม่ต้องการใช้วิธีการหาคำตอบด้วยการเดาความต้องการของส่วนประกอบและการใช้งานต่างๆ ที่จะเพิ่มในเว็บไซท์ของบริษัท www.millipore.com  Tom Anderson  ผู้จัดการด้านสื่อสารองค์กร สำนักงานใหญ่ที่เมือง Bedford รัฐ Massachuetts กล่าวว่า จะสอบถามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ในสิ่งที่ลูกค้าต้องการ                                   

2. ทำไมการสำรวจลูกค้าบนเว็บแบบออนไลน์ จึงไม่สามารถวัดของต้องการของลูกค้าที่เท่าที่ควร
ตอบ เพราะว่าเราจะพบแต่สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการบนเว็บไซท์ได้ทำกิจกรรมอะไรบ้างบนเว็บและส่วนข้อมูลที่เห็นอย่างชัดเจนนั้น  คือ ข้อมูลในการลงทะเบียนเข้าใช้เว็บ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลยโทรศัพท์ โดยที่เราไม่มีแบบสอบถามที่มีรายละเอียดมากกว่านี้จึงทำให้ไม่สามารถรู้ถึงความต้องการของลูกค้าได้เท่าที่ควร

3. คุณเห็นด้วยกับการแก้ไขปัญหาของ Millipore เพื่อพัฒนาเว็บไซท์สำหรับลูกค้า ทำไมเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการที่สำรวจหรือต้องการรู้ถึงความต้องการของลูกค้านั้นเราจำเป็นต้องมีรายละเอียดและสิ่งที่ลูกค้าต้องการ  โดยการพัฒนาเว็บไซท์ที่มีประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเหมะแก่ลูกค้าและเจ้าของกิจการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อทางบริษัทที่ต้องการข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้

บทที่ 3 การแก้ปัญหาทางธุรกิจด้วยระบบสารสนเทศ

สรุปเนื้อหาบทที่ 3

แนวคิดเชิงระบบ(System Approach)
       การใช้อินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์ แสดงถึงการปฏิวัติการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวงการธุรกิจ ซึ่งจะเห็นได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการทำงานของกลุ่มเป้าหมายออนไลน์ ช่วยในการพัฒนาสินค้า ช่วยสนับสนุนด้านลูกค้าหรืองานงานอื่นๆ ระบบสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตจึงเป็นสิ่งจำเป็นในชีวิตประจำวันและเพิ่มบทบาทในธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถช่วยให้ธุรกิจทุกประเภทปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในขั้นตอนการทำงานของธุรกิจให้ดียิ่งขึ้น
กำหนดปัญหาและแนวทางการแก้ไข(Defining Problems and Opportunities)
       ปัญหาและแนวทางแก้ไขได้ถูกกำหนดให้เป็นขั้นตอนแรกของแนวคิดเชิงระบบ แนวทางแก้ไข คือ ภาวะพื้นฐาน่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ สัญญาณบอกเหตุจะต้องแยกออกจากคำว่าปัญหา โดยสัญญาณบอกเหตุ (Symptoms) หมายถึง ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง แต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาอื่นๆ(Developing Alternative Solutins)
       แหล่งข้อมูลที่ดีของทางเลือกอื่นๆ จะได้จาก ประสบการณ์ หรือแนวทางที่เคยใช้ได้ผลมาแล้วในอดีต อีกแหล่งข้อมูลหนึ่งก็คือ คำแนะนำจากคนอื่นๆ รวมทั้งคำแนะนำจากที่ปรึกษาและจากระบบผู้เชี่ยวชาญ(Expert System)ควรใช้ทักษะในการแสวงหาวิธีการใหม่ๆร่วมกับแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ โดยพิจารณาถึงข้อจำกัดทางด้าน การเงิน บุคลากร และทรัพยากรของบริษัท อันจะทำให้มองเห็นทางเลือกที่จะทำให้เป็นจริงได้
ประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาอื่น(Evaluating Alternative Solutions)
       เมื่อทางเลือกในการแก้ไขปัญหาได้ถูกพัฒนาขึ้น ให้ประเมินหาข้อสรุปวิธีทางในการแก้ไขปัญหาใดที่ตรงกับความต้องการของธุรกิจและความต้องการของบุคลากรมากที่สุด ความต้องการเหล่านี้คือกุญแจสำคัญที่จำเป็นต่อความสำเร็จทั้งด้านบุคลากรและธุรกิจ
การเลือกแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด(Select the Best Solution)
       เมื่อประเมินแนวทางในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถเริ่มกระบวนการคัดเลือกแนวทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมที่สุด โดยสามารถประเมินเปรียบเทียบจากหลักเกณฑ์เดียวกัน

การออกแบบและนำแนวทางในการแก้ไขปัญหาไปใช้จริง(Design and Implementing a solution)
       แผนการนำไปประยุกต์ใช้ที่กำหนดแหล่งข้อมูล กิจกรรม และระยะเวลาสำหรับขั้นตอนการนำไปใช้ที่เหมาะสม ดังนั้นการออกแบรายละเอียดและแผนการนำไปประยุกต์ใช้สำหรับระบบการส่งเสริมการขายด้วยคอมพิวเตอร์ ควรประกอบด้วยประเภทและแหล่งของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ที่ต้องจัดหาสำหรับพนักงานขาย
ขั้นตอนในการสนับสนุนระบบการขายใหม่
การฝึกอบรมพนักงานอื่นๆ
การปรับระบบเดิมเข้าสู่ระบบใหม่ และกำหนดตารางเวลาในการนำไปใช้จริง
การประเมินหลังการนำไปใช้(Postimplementation Review)
       ขั้นตอนสุดท้ายของแนวคิดเชิงระบบ คือ การตระหนักว่าแนวทางแก้ปัญหาที่นำไปใช้อาจล้มเหลวได้ ในโลกแห่งความเป็นจริงอาจมีสิ่งที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้น ผลที่ได้จากการนำวิธีการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ครวถูกจับตามองและประเมิน เรียกขั้นตอนนี้ว่ากระบวนการทบทวนหลังการนำไปใช้ เป้าหมายคือการหาข้อสรุปของการนำไปใช้จริงที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
การใช้แนวคิดเชิงระบบ(Using the systems Approach)
       ลองนำแนวคิดเชิงระบบมาประยุกต์สู่แนวทางแก้ไขปัญหากับบริษัทที่กำลังเผชิญหน้าอยู่ในโลกธุรกิจอ่านกรณีศึกษาและร่วมกันวิเคราะห์ โดยใช้แนวคิดเชิงระบบแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอน
การกำหนดปัญหา(Defining the Problem)
       มีสัญณานบอกเหตุถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับ Auto Shack ในอนาคต คือ สัญณานบอกเหตุด้านผลปฏิบัติการด้านการขาย   สัญณานบอกเหตุด้านการทำงานของพนักงาน สัญณานบอกเหตุด้านการจัดการ
ความชัดเจนของปัญหา(Statement of Problem)
       ผู้จัดการ พนักงานขาย และลูกค้าได้รับสารสนเทศด้านสินค้าและบริการไม่ดีเท่าที่ครวผลปฏิบัติงานด้านการขายในหน่วยงานเกิดความเสียหายจากกระบวนการขายที่ลดลง จึงใช้เวลาส่วนใหญ่ในการพยายามหาข้อมูล ทำให้ลดเวลาในด้านบริหาร ด้วยเหตุนี้ คุณภาพของการตัดสินใจด้านการตลาดและผลงานด้านการขายของบริษัทจึงยังคงมีปัญหาอยู่เช่นเดิม
ความชัดเจนของความต้องการทางธุรกิจ(Statement of Business Requirements)
       ระบบ POS คือกำหนดฐานงานเป็นไปได้ในการสนับสนุนบทบาทของระบบสาระสนเทศ แผนการนี้ยังได้กำหนดความต้องการด้านอื่นๆเพื่อให้เข้ากับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่
หลักการสำหรับแนวทางแก้ไขปัญหาที่เลือก(Rationale for the Select Solutions)
         Auto Shack store ครวพัฒนาระบบสารสนเทศการขายแบบ POS ซึ่งจะทำให้กระบวนการขายของพนักงานสะดวกรวดเร็วขึ้นและช่วยผู้จัดการให้ได้รับข้อมูลที่ตรงกับความต้องการได้ทันท่วงที
แนวทางในการแก้ปัญหาด้วยการพัฒนาระบบสารสนเทศ(Developing Is Solution)
       ในทุกวันนี้การแก้ไขปัญหาทางธุรกิจด้วยการพฒันาระบบข้อมูล เป็นความรับผิดชอบของนักธุรกิจมืออาชีพ และในฐานะผู้ใช้ คุณสามารถรับผิดชอบสำหรับการวางแผนเพื่อพัฒนาระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบสารสนเทศเดิมสำหรับบริษัทของคุณ
วงจรการพัฒนาระบบ(Systems Development cycle)
       การใช้แนวคิดเชิงระบบเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาการพัฒนาระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับกระบวนการที่มีหลายขั้นตอนที่เรียกว่า วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศหรือวงจรชีวิตของการพัฒนาระบบ
การเริ่มกระบวนการพัฒนาระบบ(Starting the Systems Development Process)       
       การดำเนินธุรกิจมีปัญหา(หรือมีโอกาส)ไหมอะไรเป็นต้นเหตุของปัญหานั้น การสร้างหรือปรับปรุงระบบจะช่วยแก้ไขปัญหาได้หรือไม่ อะไรที่ระบบสารสนเทศจะช่วยแก้ไขปัญหา
การศึกษาความเป็นไปได้(Feasibility Studies)
       การศึกษาความเป็นไปได้ เป็นการศึกษาขั้นต้นเพื่อสืบค้นหาความต้องการของสาระสนเทศในมุมมองของผู้ใช้และหาข้อสรุปของแหล่งข้อมูลที่ต้องการ ราคา ผลประโยชน์ที่จะได้รับและความเป็นไปได้ของโครงการ
การวิเคราะห์ระบบ(Systems Analysis) การวิเคราะห์ระบบเมื่อใดก็ตามที่คุณต้องการพัฒนาระบบงานใหม่อย่างรวดเร็วหรือเกี่ยวข้องกับโครงการระยะยาว
การวิเคราะห์องค์กร(Organizational Analysis) การวิเคราะห์องค์กร เป็นก้าวแรกที่สำคัญของการวิเคราะห์ระบบ จะปรับปรุงระบบสารสนเทศได้อย่างไรหากไม่รู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อมในองค์กรที่จะทำการวิเคราะห์ระบบ
การวิเคราะห์ระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน(Analysis of the Present Systems)
       สิ่งสำคัญที่จะต้องศึกษา คือ ระบบเดิมที่จะปรับปรุงหรือถูกแทนที่วิเคราะห์การใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟแวร์ เครือข่าย และบุคลากร เพื่อจะทำการถ่ายโอนข้อมูลเดิม
การวิเคราะห์ความต้องการในการใช้งาน(Functional Requiremeents Analysis)        
       ขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบนั้นเป็นส่วนที่ยากที่สุด คุณอาจต้องทำงานเป็นทีมกับนักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้อื่นๆเพื่อหาข้อสรุปในความต้องการสารสนเทศที่เฉพาะเจาะจง
การออกแบบระบบ(Systems Desing)
       การวิเคราะห์ระบบ แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่ระบบควรทำ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
การกำหนดรายละเอียดของระบบ(System Specifications)
       การกำหนดรายละเอียดของระบบ โดยทั่วไปหมายถึง วิธีการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ของระบบงาน
การสร้างต้นแบบ(Prototyping)
        การสร้างต้นแบบ เป็นพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่
การใช้งานระบบสารสนเทศใหม่(Implementation a New Information System)
       เมื่อระบบสารสนเทศใหม่ได้ถูกออกแบบแล้วก็จะนำไปใช้งานจริงแสดงให้เห็นขั้นตอนการนำระบบใหม่ไปใช้
การบำรุงรักษาระบบสารสนเทศ(Maintenance of Information Systems)        การบำรุงรักษาระบบ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรการพัฒนาระบบเรื่องนี้เกี่ยวข้องกับการสำรวจ ประเมิน และปรับเปลี่ยนระบบเพื่อให้เป็นตามที่ต้องการ
คอมพิวเตอร์ช่วยงานด้านวิศวกรรมระบบ(Computer-Aided Systems Engineering:CASE)        
       คอมพิวเตอร์ช่วยงานด้านวิศวกรรมระบบ หรือคอมพิวเตอร์ช่วยงานด้านวิศวกรรมซอฟแวร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ซอฟแวร์สำเร็จที่เรียกว่า เคสทูลเพื่อจัดการกับงานของวงจรการพัฒนาระบบ
การใช้เคสทูล(Using CASE Tools)
       ความสำคัญของเคสทูลที่เป็นเครื่องมือช่วยในงานส่วนหน้าของวงจรการพัฒนาระบบและงานส่วนหลังของการพัฒนาระบบ
การพัฒนาระบบโดยผู้ใช้(End User Development)
       สามารถสร้างแนวทางใหม่หรือปรับปรุงระบบงาเดิมโดยปราศจากความช่วยเหลือของผู้เชี่ยวชาญด้านระบบสารสนเทศได้การเน้นเรื่องภารกิจระบบสารสนเทศ(Focus on Activities)    การพัฒนาผู้ใช้ควรจะมุ่งเน้นเรื่องพื่นฐานของระบบสารสนเทศ

ข้อสอบย่อย
1. กระบวนการแก้ไขปัญหามีกี่ขั้นตอน
ก. 2 ขั้นตอน
ข. 4 ขั้นตอน
ค. 6 ขั้นตอน
ง. 8 ขั้นตอน

2. Systems Approach คืออะไร
ก. แนวคิดเชิงระบบ
ข. การคิดอย่างเป็นระบบ
ค. วงจรการพัฒนาระบบ
ง. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ

3. การออกแบบรายละเอียดและแผนการนำไปประยุกต์ใช้สำหรับระบบการส่งเสริมการขายด้วยคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยกี่ขั้นตอน
ก. 3 ขั้นตอน
ข. 4 ขั้นตอน
ค. 5 ขั้นตอน
ง. 6 ขั้นตอน

4. สัญญาณบอกเหตุ หมายถึงอะไร
ก. ปัญหาและโอกาสในการแก้ไขปัญหา
ข. ปัญหาจากการถูกพัฒนาขึ้น
ค. ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นขึ้นจริงแต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
ง. ถูกทุกข้อ

5.) สัญญาณบอกเหตุ หมายถึงอะไร
ก. ปัญหาและโอกาสในการแก้ไขปัญหา
ข. ปัญหาจากการถูกพัฒนาขึ้น
ค. ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นขึ้นจริงแต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
ง. ถูกทุกข้อ
6.) Statement of the Problem ความหมายตรงกับข้อใด
ก. การกำหนดปัญหา
ข. ความชัดเจนของปัญหา
ค. ความชัดเจนของความต้องการทางธุรกิจ
ง. ถูกทุกข้อ
7.) เป้าหมายของการศึกษาความเป็นไปได้ขององค์กร คืออะไร
ก. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเศรษรฐกิจ
ข. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับความอยู่รอม ความมั่นคงขององค์กร
ค. ระบบสารสนเทศที่ษึกษาเกี่ยวกับระบบต่างๆในองค์กร
ง. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงาน การพัฒนาความเป็นไปได้ขององค์กร
8.) การออกแบบให้รายละเอียดในเรื่องอะไรบ้าง
ก. ลักษณะ ประจำ กฏบูรณภาพ
ข. ลักษณะเฉพาะ กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละคน
ค. ลักษณะประจำ หรือลักษณะเฉพาะของเอนทิตี ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละ เอนทิตี ที่มีต่อกัน
     กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย กฏบูรณภาพ
ง. ถูกทุกข้ัอ
9.)การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบสามารถประเมินได้จากเกณฑ์หลักๆทั้งหมดกี่เกณฑ์
ก. 2 เกณฑ์
ข. 3 เกณฑ์
ค. 4 เกณฑ์
ง. 5 เกณฑ์
10.) สัญญาณบอกเหตุด้านการจัดการ ตรงกับข้อใด
ก. พนักงานขายใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเขียนใบสั่งซื้อสินค้า
ข. การขยายตัวด้านการขายลดลงกว่าปีที่แล้วและในอัตราที่ต่ำกว่าคู่แข่ง
ค. ผู้จัดการให้ความสำคัญกับการวางแผนมากเกินไปจนส่งผลกับงาน
ง. บริษัทและผู้จัดการใช้เวลามากไปกับการรวบรวมข้อมูลที่สำคัญ

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. นักศึกษาสามารถใช้แนวคิดเชิงระบบในการแก้ไขปัญหา เช่นเดี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทางด้าน การตลาด ทางด้านการเงิน ทางด้านทรัพยากรมนุษย์หรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ  ใช้ เพราะแนวคิดเชิงระบบในการใช้แก้ปัญหานั้น เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้ทุกทางของปัญหา และเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดลำดับความคิดมากขึ้น

2. ทำไมนักศึกษาจึงคิดว่า การจัดทำต้นแบบ (Prototyping) จึงกลายมาเป็นที่นิยมในการพัฒนาระบบใหม่ทางธุรกิจที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นพื้นฐาน
ตอบ เป็นการพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยคคำสั่งในโปรแกรม เรียก การรวนรอบ

3. ให้นักศึกษาอธิบายว่า ปัจจุบันมีการนำการจัดทำต้นแบบเข้ามาแทนที่ หรือมาเสริมการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ตอบ การสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบงานขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิม ต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดความต้องการจากผู้ใช้นั้นจะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำหรือปรับแต่งในส่วนของรายละเอียดจนผู้ใช้ให้การยอมรับ การทำต้นแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานด้านธุรกิจ

4.จงออกแบบแนวคิดเชิงระบบ จากกรณีศึกษาต่อไปนี้ เพื่อนำระบบสารสนเทศมาใช้แก้ไขปัญหาทางธุรกิจที่เกิดขึ้นของธุรกิจขายประกันชีวิตแห่งหนึ่ง ที่มีงบทุน 3,000,000 บาท และมีรายได้เฉลี่ยปีละ 300,000 บาท แต่ในปัจจุบันยอดขายลดลง เนื่องจากตัวแทนประกันไม่สามารถให้ข้อมูลการประกันชีวิตได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า เพราะมีเอกสารเกี่ยวกับการประกันชีวิตหลายรูปแบบและวิธีการคำนวณเบี้ยประกันที่ซับซ้อน จึงทำให้เกิดความล่าช้าในการให้ข้อมูลและทำให้สูญเสียลูกค้าเป็นจำนวนมาก ซึ่งฝ่ายสารสนเทศของบริษัทได้พัฒนาทางเลือกไว้ 2 ทางเพื่อการนำเสนอต่อผู้บริหาร คือ

          ทางเลือกที่ 1  ให้ตัวแทนประกันใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุคและติดตั้งระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิต ซึ่งจะสามารถช่วยในการคำนวณและให้รายละเอียดที่ลูกค้าต้องการได้ทันที และสามารถส่งข้อมูลการทำประกันเข้าระบบอินทราเน็ตของบริษัทได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 1,000,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 100,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลในระดับ ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุด และมีความสะดวกต่อการใช้งานอยู่ในระดับดี มีความเชื่อถืออยู่ในระดับดีเยี่ยม

          ทางเลือกที่ 2 ให้แฟ้มเอกสารที่บันทึกข้อมูลการประกันชีวิตอย่างละเอียดทั้งหมดกับตัวแทนพร้อมทั้งแบบฟอร์มการขอประกันที่สามารถส่งเป็นจดหมายจากที่ทำการไปรษณีย์ถึงบริษัทได้ทันทีที่ลูกค้าตอบรับ และนำแบบฟอร์มการขอเอาประกันดังกล่าวมาบันทึกข้อมูลที่ระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิตที่ติดตั้งบันเครื่องพีซีของบริษัท ทางเลือกนี้ มีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 200,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 300,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลและความสะดวกต่อการใช้งานในระดับพอใช้ มีความเชื่อถือในระดับดีเยี่ยม
ตอบ   หลักเกณฑ์ น้ำหนัก ทางเลือกที่ 1 คะแนน ทางเลือกที่ 2 คะแนน
           ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 20 1,000,000 บาท 12 200,000 บาท 20
           ค่าใช้จ่ายในการเดินเนินงาน 30 100,000 บาท 25 300,000 บาท 18
           สะดวกต่อการใช้งาน 20 ดี 16 พอใช้ 12
           ความถูกต้อง 20 ดีเยี่ยม 20 พอใช้ 8
           ความน่าเชื่อถือ 10 ดีเยี่ยม 10 ดีเยี่ยม 10
                           รวม 100 83 68
เลือกทางเลือกที่ 1 เพราะว่าง่ายต่อการใช้งานดี มีความถูกต้องดีเยี่ยม และความถูกต้องดีเยี่ยม ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถึงค่าใช้จ่ายเริ่มต้นจะสูงก็ตามแต่ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อปีน้อยกว่าทางเลือกที่ 2

5.มีซอฟต์แวร์ประยุกต์อะไรบ้างที่ผู้ใช้สามารถนำมาประยุกต์ใช้พัฒนาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต เว็บไซท์
ตอบ ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆหนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ
          ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูลส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น

6. การนำเอาซอฟต์แวร์ Case Tools มาช่วยสนับสนุนขั้นตอนของวงจรการพัฒนานั้น แต่ก็มีไม่มากนักที่ประสบความสำเร็จในท้องตลาดทั่วไปและในลักษณะเช่นเดียวกันก็มีการนำเอา CASE Tools ไปช่วยนักพัฒนาในส่วนของการจัดทำต้นแบบ และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ในระดับบุคคล นักศึกษาคิดว่า เป็นเพราะเหตุผลใดที่มีเหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้น
ตอบ  เพราะการใช้ I-CASE สามารถใช้ช่วยการพัฒนาระบบทุกส่วนของเคสทูล ช่วยสนับสนุน JAD ซึ่งกลุ่มของนักวิเคราะห์ระบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ สามารถใช้งานร่วมกันใยการออกแบบระบบงานใหม่ได้อย่างดี
คำถามกรณีศึกษา
1. การใช้แนวคิดเชิงระบบ ได้ช่วยให้บริษัทแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างไร
ตอบ ช่วยให้บริษัทมียอดขายเพิ่มมากขึ้นและมีลูกค้าประจำและมีอัตราของลูกค้าที่มาใช้บริการมากขึ้นตามลำดับเป็นระบบการตลาดสำหรับลูกค้าบนซอฟต์แวร์คลังข้อมูลสามารถทำการตลาดได้เป็นอย่างดี

2. คุณเห็นด้วยหรือไม่กับแนวทางที่บริษัทใช้ในการแก้ปัญหา ทำไมจึงเห็นด้วยและทำไมจึงไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการมีข้อมูลของลูกค้าเก็บไว้นี้แสดงว่าเรายังรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไรจากบริษัทเราและมีการบริหารการตลาดเชิงลูกค้าสัมพันธ์เพื่อเก็บรายชื่อลูกค้าประจำแล้วยังสามารถดึงดูดลูกค้ามาใช้บริการได้มากขึ้น

3.อะไรอีกที่คุณอยากแนะนำให้คามิลอททำเพื่อปรับปรุงสถานการณ์ทางธุรกิจของบริษัท แล้วจะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยได้อย่างไร
ตอบ  ควรมีการกระทำการตลาดออนไลน์และทำการวัดส่งไปยังลูกค้าที่ต้องการปริมาณของสินค้าจำนวนมากให้ถึงมือลูกค้ามีการวิจัยลูกค้าว่าเขาต้องการอะไรจากทางบริษัทหรือบริการที่บริษัทควรมีให้เพื่อความสะดวกสบาย


1. อะไรคือขั้นตอนที่แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนากระบวนการจัดทำเว็บไซท์ของบริษัท Millipore
ตอบ  แนวคิดทางบริษัทไม่ต้องการใช้วิธีการหาคำตอบด้วยการเดาความต้องการของส่วนประกอบและการใช้งานต่างๆ ที่จะเพิ่มในเว็บไซท์ของบริษัท www.millipore.com  Tom Anderson  ผู้จัดการด้านสื่อสารองค์กร สำนักงานใหญ่ที่เมือง Bedford รัฐ Massachuetts กล่าวว่า จะสอบถามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ในสิ่งที่ลูกค้าต้องการ                                   

2. ทำไมการสำรวจลูกค้าบนเว็บแบบออนไลน์ จึงไม่สามารถวัดของต้องการของลูกค้าที่เท่าที่ควร
ตอบ เพราะว่าเราจะพบแต่สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการบนเว็บไซท์ได้ทำกิจกรรมอะไรบ้างบนเว็บและส่วนข้อมูลที่เห็นอย่างชัดเจนนั้น  คือ ข้อมูลในการลงทะเบียนเข้าใช้เว็บ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลยโทรศัพท์ โดยที่เราไม่มีแบบสอบถามที่มีรายละเอียดมากกว่านี้จึงทำให้ไม่สามารถรู้ถึงความต้องการของลูกค้าได้เท่าที่ควร

3. คุณเห็นด้วยกับการแก้ไขปัญหาของ Millipore เพื่อพัฒนาเว็บไซท์สำหรับลูกค้า ทำไมเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการที่สำรวจหรือต้องการรู้ถึงความต้องการของลูกค้านั้นเราจำเป็นต้องมีรายละเอียดและสิ่งที่ลูกค้าต้องการ  โดยการพัฒนาเว็บไซท์ที่มีประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเหมะแก่ลูกค้าและเจ้าของกิจการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อทางบริษัทที่ต้องการข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้
5.) สัญญาณบอกเหตุ หมายถึงอะไร
ก. ปัญหาและโอกาสในการแก้ไขปัญหา
ข. ปัญหาจากการถูกพัฒนาขึ้น
ค. ปัญหาสำคัญที่ยังไม่เกิดขึ้นขึ้นจริงแต่มีแนวโน้มว่าจะเกิด
ง. ถูกทุกข้อ
6.) Statement of the Problem ความหมายตรงกับข้อใด
ก. การกำหนดปัญหา
ข. ความชัดเจนของปัญหา
ค. ความชัดเจนของความต้องการทางธุรกิจ
ง. ถูกทุกข้อ
7.) เป้าหมายของการศึกษาความเป็นไปได้ขององค์กร คืออะไร
ก. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเศรษรฐกิจ
ข. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับความอยู่รอม ความมั่นคงขององค์กร
ค. ระบบสารสนเทศที่ษึกษาเกี่ยวกับระบบต่างๆในองค์กร
ง. ระบบสารสนเทศที่ศึกษาเกี่ยวกับการทำงาน การพัฒนาความเป็นไปได้ขององค์กร
8.) การออกแบบให้รายละเอียดในเรื่องอะไรบ้าง
ก. ลักษณะ ประจำ กฏบูรณภาพ
ข. ลักษณะเฉพาะ กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละคน
ค. ลักษณะประจำ หรือลักษณะเฉพาะของเอนทิตี ความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละ เอนทิตี ที่มีต่อกัน
     กำหนดส่วนประกอบของข้อมูลย่อย กฏบูรณภาพ
ง. ถูกทุกข้ัอ
9.)การศึกษาความเป็นไปได้ของระบบสามารถประเมินได้จากเกณฑ์หลักๆทั้งหมดกี่เกณฑ์
ก. 2 เกณฑ์
ข. 3 เกณฑ์
ค. 4 เกณฑ์
ง. 5 เกณฑ์
10.) สัญญาณบอกเหตุด้านการจัดการ ตรงกับข้อใด
ก. พนักงานขายใช้เวลาส่วนใหญ่กับการเขียนใบสั่งซื้อสินค้า
ข. การขยายตัวด้านการขายลดลงกว่าปีที่แล้วและในอัตราที่ต่ำกว่าคู่แข่ง
ค. ผู้จัดการให้ความสำคัญกับการวางแผนมากเกินไปจนส่งผลกับงาน
ง. บริษัทและผู้จัดการใช้เวลามากไปกับการรวบรวมข้อมูลที่สำคัญ
ค ข ก ค ค ง
อรุณา

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. นักศึกษาสามารถใช้แนวคิดเชิงระบบในการแก้ไขปัญหา เช่นเดี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทางด้าน การตลาด ทางด้านการเงิน ทางด้านทรัพยากรมนุษย์หรือไม่ จงอธิบาย
ตอบ  ใช้ เพราะแนวคิดเชิงระบบในการใช้แก้ปัญหานั้น เป็นแนวคิดที่สามารถนำไปแก้ปัญหาได้ทุกทางของปัญหา และเป็นกระบวนการที่เป็นระบบในการจัดลำดับความคิดมากขึ้น

2. ทำไมนักศึกษาจึงคิดว่า การจัดทำต้นแบบ (Prototyping) จึงกลายมาเป็นที่นิยมในการพัฒนาระบบใหม่ทางธุรกิจที่มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นพื้นฐาน
ตอบ เป็นการพัฒนาการที่รวดเร็วและเป็นการทดสอบการทำงานของแบบจำลองหรือต้นแบบของระบบงานใหม่ ในการโต้ตอบและกระบวนการทำซ้ำประโยคคำสั่งในโปรแกรม เรียก การรวนรอบ

3. ให้นักศึกษาอธิบายว่า ปัจจุบันมีการนำการจัดทำต้นแบบเข้ามาแทนที่ หรือมาเสริมการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ตอบ การสร้างต้นแบบสามารถใช้ได้ทั้งกับระบบงานขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ระบบงานขนาดใหญ่มีความต้องการในการใช้การพัฒนาจากระบบแบบเดิม ต้นแบบของระบบงานด้านธุรกิจที่เกิดความต้องการจากผู้ใช้นั้นจะช่วยให้การพัฒนาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และสามารถทำซ้ำหรือปรับแต่งในส่วนของรายละเอียดจนผู้ใช้ให้การยอมรับ การทำต้นแบบขึ้นอยู่กับกระบวนการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานด้านธุรกิจ

4.จงออกแบบแนวคิดเชิงระบบ จากกรณีศึกษาต่อไปนี้ เพื่อนำระบบสารสนเทศมาใช้แก้ไขปัญหาทางธุรกิจที่เกิดขึ้นของธุรกิจขายประกันชีวิตแห่งหนึ่ง ที่มีงบทุน 3,000,000 บาท และมีรายได้เฉลี่ยปีละ 300,000 บาท แต่ในปัจจุบันยอดขายลดลง เนื่องจากตัวแทนประกันไม่สามารถให้ข้อมูลการประกันชีวิตได้ตรงกับความต้องการของลูกค้า เพราะมีเอกสารเกี่ยวกับการประกันชีวิตหลายรูปแบบและวิธีการคำนวณเบี้ยประกันที่ซับซ้อน จึงทำให้เกิดความล่าช้าในการให้ข้อมูลและทำให้สูญเสียลูกค้าเป็นจำนวนมาก ซึ่งฝ่ายสารสนเทศของบริษัทได้พัฒนาทางเลือกไว้ 2 ทางเพื่อการนำเสนอต่อผู้บริหาร คือ

          ทางเลือกที่ 1  ให้ตัวแทนประกันใช้คอมพิวเตอร์โน้ตบุคและติดตั้งระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิต ซึ่งจะสามารถช่วยในการคำนวณและให้รายละเอียดที่ลูกค้าต้องการได้ทันที และสามารถส่งข้อมูลการทำประกันเข้าระบบอินทราเน็ตของบริษัทได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งมีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 1,000,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 100,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลในระดับ ดีเยี่ยม ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากที่สุด และมีความสะดวกต่อการใช้งานอยู่ในระดับดี มีความเชื่อถืออยู่ในระดับดีเยี่ยม

          ทางเลือกที่ 2 ให้แฟ้มเอกสารที่บันทึกข้อมูลการประกันชีวิตอย่างละเอียดทั้งหมดกับตัวแทนพร้อมทั้งแบบฟอร์มการขอประกันที่สามารถส่งเป็นจดหมายจากที่ทำการไปรษณีย์ถึงบริษัทได้ทันทีที่ลูกค้าตอบรับ และนำแบบฟอร์มการขอเอาประกันดังกล่าวมาบันทึกข้อมูลที่ระบบจัดการข้อมูลการประกันชีวิตที่ติดตั้งบันเครื่องพีซีของบริษัท ทางเลือกนี้ มีค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 200,000 บาท มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 300,000 บาทต่อปี และมีความถูกต้องของข้อมูลและความสะดวกต่อการใช้งานในระดับพอใช้ มีความเชื่อถือในระดับดีเยี่ยม
ตอบ   หลักเกณฑ์ น้ำหนัก ทางเลือกที่ 1 คะแนน ทางเลือกที่ 2 คะแนน
           ค่าใช้จ่ายเริ่มต้น 20 1,000,000 บาท 12 200,000 บาท 20
           ค่าใช้จ่ายในการเดินเนินงาน 30 100,000 บาท 25 300,000 บาท 18
           สะดวกต่อการใช้งาน 20 ดี 16 พอใช้ 12
           ความถูกต้อง 20 ดีเยี่ยม 20 พอใช้ 8
           ความน่าเชื่อถือ 10 ดีเยี่ยม 10 ดีเยี่ยม 10
                           รวม 100 83 68
เลือกทางเลือกที่ 1 เพราะว่าง่ายต่อการใช้งานดี มีความถูกต้องดีเยี่ยม และความถูกต้องดีเยี่ยม ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีถึงค่าใช้จ่ายเริ่มต้นจะสูงก็ตามแต่ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่อปีน้อยกว่าทางเลือกที่ 2

5.มีซอฟต์แวร์ประยุกต์อะไรบ้างที่ผู้ใช้สามารถนำมาประยุกต์ใช้พัฒนาธุรกิจบนอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต เว็บไซท์
ตอบ ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ (Word processing) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสำหรับงานพิมพ์เอกสารรวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทำให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บข้อความต่าง ๆหนังสือที่จำหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงในคอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคำ
          ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) เป็นซอฟต์แวร์สำหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนำไปใช้ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนำเสนอข้อมูลส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สำหรับการตกแต่งภาพหรือรูปถ่าย หรือใช้สำหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น

6. การนำเอาซอฟต์แวร์ Case Tools มาช่วยสนับสนุนขั้นตอนของวงจรการพัฒนานั้น แต่ก็มีไม่มากนักที่ประสบความสำเร็จในท้องตลาดทั่วไปและในลักษณะเช่นเดียวกันก็มีการนำเอา CASE Tools ไปช่วยนักพัฒนาในส่วนของการจัดทำต้นแบบ และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ในระดับบุคคล นักศึกษาคิดว่า เป็นเพราะเหตุผลใดที่มีเหตุการณ์อย่างนี้เกิดขึ้น
ตอบ  เพราะการใช้ I-CASE สามารถใช้ช่วยการพัฒนาระบบทุกส่วนของเคสทูล ช่วยสนับสนุน JAD ซึ่งกลุ่มของนักวิเคราะห์ระบบโปรแกรมเมอร์และผู้ใช้ สามารถใช้งานร่วมกันใยการออกแบบระบบงานใหม่ได้อย่างดี
คำถามกรณีศึกษา
1. การใช้แนวคิดเชิงระบบ ได้ช่วยให้บริษัทแก้ปัญหาทางธุรกิจได้อย่างไร
ตอบ ช่วยให้บริษัทมียอดขายเพิ่มมากขึ้นและมีลูกค้าประจำและมีอัตราของลูกค้าที่มาใช้บริการมากขึ้นตามลำดับเป็นระบบการตลาดสำหรับลูกค้าบนซอฟต์แวร์คลังข้อมูลสามารถทำการตลาดได้เป็นอย่างดี

2. คุณเห็นด้วยหรือไม่กับแนวทางที่บริษัทใช้ในการแก้ปัญหา ทำไมจึงเห็นด้วยและทำไมจึงไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการมีข้อมูลของลูกค้าเก็บไว้นี้แสดงว่าเรายังรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไรจากบริษัทเราและมีการบริหารการตลาดเชิงลูกค้าสัมพันธ์เพื่อเก็บรายชื่อลูกค้าประจำแล้วยังสามารถดึงดูดลูกค้ามาใช้บริการได้มากขึ้น

3.อะไรอีกที่คุณอยากแนะนำให้คามิลอททำเพื่อปรับปรุงสถานการณ์ทางธุรกิจของบริษัท แล้วจะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยได้อย่างไร
ตอบ  ควรมีการกระทำการตลาดออนไลน์และทำการวัดส่งไปยังลูกค้าที่ต้องการปริมาณของสินค้าจำนวนมากให้ถึงมือลูกค้ามีการวิจัยลูกค้าว่าเขาต้องการอะไรจากทางบริษัทหรือบริการที่บริษัทควรมีให้เพื่อความสะดวกสบาย


1. อะไรคือขั้นตอนที่แนวคิดเชิงระบบในการพัฒนากระบวนการจัดทำเว็บไซท์ของบริษัท Millipore
ตอบ  แนวคิดทางบริษัทไม่ต้องการใช้วิธีการหาคำตอบด้วยการเดาความต้องการของส่วนประกอบและการใช้งานต่างๆ ที่จะเพิ่มในเว็บไซท์ของบริษัท www.millipore.com  Tom Anderson  ผู้จัดการด้านสื่อสารองค์กร สำนักงานใหญ่ที่เมือง Bedford รัฐ Massachuetts กล่าวว่า จะสอบถามความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ในสิ่งที่ลูกค้าต้องการ                                   

2. ทำไมการสำรวจลูกค้าบนเว็บแบบออนไลน์ จึงไม่สามารถวัดของต้องการของลูกค้าที่เท่าที่ควร
ตอบ เพราะว่าเราจะพบแต่สิ่งที่แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้บริการบนเว็บไซท์ได้ทำกิจกรรมอะไรบ้างบนเว็บและส่วนข้อมูลที่เห็นอย่างชัดเจนนั้น  คือ ข้อมูลในการลงทะเบียนเข้าใช้เว็บ เช่น ชื่อ ที่อยู่ และหมายเลยโทรศัพท์ โดยที่เราไม่มีแบบสอบถามที่มีรายละเอียดมากกว่านี้จึงทำให้ไม่สามารถรู้ถึงความต้องการของลูกค้าได้เท่าที่ควร

3. คุณเห็นด้วยกับการแก้ไขปัญหาของ Millipore เพื่อพัฒนาเว็บไซท์สำหรับลูกค้า ทำไมเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย
ตอบ เห็นด้วยเพราะการที่สำรวจหรือต้องการรู้ถึงความต้องการของลูกค้านั้นเราจำเป็นต้องมีรายละเอียดและสิ่งที่ลูกค้าต้องการ  โดยการพัฒนาเว็บไซท์ที่มีประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเหมะแก่ลูกค้าและเจ้าของกิจการเพื่อเป็นประโยชน์ต่อทางบริษัทที่ต้องการข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สรุปบทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์

สรุปบทที่ 8 ระบบสารสนเทศสำหรับความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ แนว คิดกลยุทธ์ทางการแข่งขั น         เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาผล...